ชื่อบทความ: | กระบวนการใช้แบบจำลองสารสารเทศอาคารในขั้นตอนโครงการก่อสร้าง |
Research Article: | Building Information Modelling Implementation Process |
ผู้เขียน|Author: | สุนิตษา เสาระโส, สันติ เจริญพรพัฒนา และ รัฐวุฒิ รู้แทนคุณ | Sunitsa Saoraso, Santi Charoenpornpattana & Rathavoot Ruthankoon |
Email: | rathavoot@siam.edu |
ภาควิชา|คณะ: | ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160 |
Department|Faculty: | Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok 10160 |
Published|แหล่งเผยแพร่: | การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560 นครราชสีมา | The 22nd National Convention on Civil Engineering (NCCE22) & The Intermational Convention on Civil Engineering (ICCE2017) July 18-20, 2017, Nakhon Ratchasima, THAILAND |
การอ้างอิง|Citation
สุนิตษา เสาระโส, สันติ เจริญพรพัฒนา และ รัฐวุฒิ รู้แทนคุณ. (2560). กระบวนการใช้แบบจำลองสารสารเทศอาคารในขั้นตอนโครงการก่อสร้าง. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
Saoraso S., Charoenpornpattana S., & Ruthankoon R. (2017). Building information modelling implementation process. In The 22nd National Convention on Civil Engineering (NCCE22) & The Intermational Convention on Civil Engineering (ICCE2017). Nakhon Ratchasima: Rajamangala University of Technology Isan & Suranaree University of Technology.
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดทำกำหนดการก่อสร้างและทดลองจัดทากาหนดการก่อสร้างด้วยแบบจำลองสารสนเทศอาคาร รวมถึงประเมินข้อดี ข้อเสีย ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ งานวิจัยนี้ใช้วิธีการทดลองจัดทำกำหนดการก่อสร้างด้วยแบบจำลองสารสนเทศอาคารกับอาคารกรณีศึกษา ซึ่งจากการศึกษาการใช้กำหนดการก่อสร้างด้วยแบบจำลองสารสนเทศอาคารพบว่าเหมาะสมที่จะถูกใช้ในการนาเสนอกับเจ้าของงานและวางแผนก่อนเริ่มงาน เพราะทาให้เห็นขั้นตอนการทำงานจนกระทั่งจบโครงการอย่างชัดเจน ขั้นตอนการทางานถูกนำเสนอในบทความนี้
คำสำคัญ: แบบจำลองสารสนเทศอาคาร, กำหนดการก่อสร้าง, โครงสร้างสาเร็จรูป
ABSTRACT
This research aims to study guideline on a preparation of construction scheduling and trial preparation construction scheduling by building information modeling as well as to evaluate advantages, disadvantages, problems and obstacles. This research uses an experimental approach to preparing construction scheduling by building information modeling with the case study. The study found that the construction scheduling using building information modeling is suitable used to present to clients and to plan before starting work because of the process until the end of a project clearly. The approach is presented in this paper.
Keywords: building information modeling, construction, scheduling, pre-engineered building.
กระบวนการใช้แบบจำลองสารสารเทศอาคารในขั้นตอนโครงการก่อสร้าง |Building Information Modelling Implementation Process
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand