Topics: -สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
แรงจูงใจและความคาดหวังของผู้เรียนสาขาวิศวกรรมโยธาเป็นปริญญาที่สอง

ศลิษา เปลี่ยนดี. (2565). แรงจูงใจและความคาดหวังของผู้เรียนสาขาวิศวกรรมโยธาเป็นปริญญาที่สอง. ใน รายงานการประชุม การประชุมโยธาแห่งชาติ  ครั้งที่ 27 “วิศวกรรมโยธาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน” วันที่ 24-26 สิงหาคม 2565 (หน้า CEE03-1 – CEE03-4). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมสำหรับผลิตภัณฑ์ต้นจากในแผ่นพื้นซีเมนต์

ไตรทศ ขำสุวรรณ, ภาคภูมิ มงคลสังข์, สมศักดิ์ ชินวิกกัย. (2565). นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมสำหรับผลิตภัณฑ์ต้นจากในแผ่นพื้นซีเมนต์. ใน รายงานการประชุม การประชุมโยธาแห่งชาติ  ครั้งที่ 27 “วิศวกรรมโยธาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน” วันที่ 24-26 สิงหาคม 2565 (หน้า MAT22-1 – MAT22-3). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

การวิเคราะห์และประเมินเสถียรภาพของถังเก็บน้ำมัน

ภาคภูมิ มงคลสังข์, จิรวิทย์ พึ่งน้อย, ปริตตา ศุภโกวิทย์. (2565). การวิเคราะห์และประเมินเสถียรภาพของถังเก็บน้ำมัน. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 6 และการประชุมระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 3 เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (หน้า 74-85).

อิทธิพลของระดับความเค้นแบบกระทำซ้ำที่มีผลต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนรูปของดินเหนียวเคโอลิน

ปริตตา ศุภโกวิทย์ และพงษ์พิพัฒน์ อานันทนสกุล. (2565). อิทธิพลของระดับความเค้นแบบกระทำซ้ำที่มีผลต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนรูปของดินเหนียวเคโอลิน. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 60 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “เกษตรศาสตร์วิถีถัดไป พลิกวิกฤติสู่ความยั่งยืน”. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ

ภาคภูมิ มงคลสังข์, ไตรทศ ขําสุวรรณ, จิรวิท พึ่งน้อย และสมภพ พึ่งเสมา. (2564). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งรัตนโกสินทร์, 3(2), 45-55.

การศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารโรงงาน บริษัท ฟงซัน พริ้นติ้ง จำกัด

ชำนาญ ทองมาก. (2563). การศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารโรงงาน บริษัท ฟงซัน พริ้นติ้ง จำกัด. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตน้ำแข็ง (อาคาร คสล.ชั้นเดียว)

เอนก รังษี. (2563). โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตน้ำแข็ง (อาคาร คสล.ชั้นเดียว). (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์

เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และ สมศักดิ์ ชินวิกกัย. (2563). การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษาแบบแปลนและขั้นตอนการก่อสร้างพื้นคอนกรีตอัดแรง

ธนพนธ์ เรือนนาค และ อภิวัฒน์ ทิพยวนาวัฒน์. (2562). การศึกษาแบบแปลนและขั้นตอนการก่อสร้างพื้นคอนกรีตอัดแรง. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร

อินทราชัย สิมะพิเชฐ. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษากลสมบัติด้านกำลังของจีโอพอลิเมอร์ผสมถ่านเปลือกกล้วยน้ำวา

ไตรทศ ขำสุวรรณ และ ภาคภูมิ มงคลสังข์. (2563). การศึกษากลสมบัติด้านกำลังของจีโอพอลิเมอร์ผสมถ่านเปลือกกล้วยน้ำวา. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 (หน้า 1736 – 1740). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

กรณีศึกษาการก่อสร้าง โรงงาน (Hongling) นิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ ระยอง บริษัท จงเทียน โอเวอร์ซีส์ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด

ชุมพล แจ้งโลก. (2561). รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา กรณีศึกษาการก่อสร้าง โรงงาน (Hongling) นิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ ระยอง บริษัท จงเทียน โอเวอร์ซีส์ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การวางแผนงานและขั้นตอนการก่อสร้างงานโครงสร้างกรณีศึกษาเฮ้าส์พัทยา

ปิยมน วงษาเทศ, นพเก้า ตะเพียรทอง และ ภาณุพงษ์ ตรีเมฆ. (2561). การวางแผนงานและขั้นตอนการก่อสร้างงานโครงสร้างกรณีศึกษาเฮ้าส์พัทยา. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.