- 1. การอ้างอิง|Citation
- 2. บทคัดย่อ
- 3. ABSTRACT
- 4. การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ | Comparison Analysis of Load Distribution on Piles Caused by Pile Deviation Using Flexible and Rigid Foundation Theory with Finite Element Method
- 5. รายงานการวิจัยของมหาวิทยาลัยสยาม:
ชื่อบทความ: | การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ |
Research Article: | Comparison Analysis of Load Distribution on Piles Caused by Pile Deviation Using Flexible and Rigid Foundation Theory with Finite Element Method |
ผู้เขียน/Author: | เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และ สมศักดิ์ ชินวิกกัย | Chalermkiat Wongvanicht & Somsak Chinvikkai |
Email: | chalermkiat.won@siam.edu ; somsak.chi@siam.edu |
สาขาวิชา/คณะ: | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160 |
Department/Faculty | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok 10160 |
Published/แหล่งเผยแพร่ | รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยสยาม เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ |
การอ้างอิง|Citation
เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และ สมศักดิ์ ชินวิกกัย. (2563). การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
Wongvanicht C., & Chinvikkai S. (2020). Comparison analysis of load distribution on piles caused by pile deviation using flexible and rigid foundation theory with finite element method (Research Report). Bangkok: Siam University.
บทคัดย่อ
การตอกเสาเข็มหรือเจาะเสาเข็มมักจะมีปัญหาการเยื้องศูนย์ วิศวกรหรือผู้ก่อสร้างจำเป็นต้องคำนวณวิเคราะห์แรงในเสาเข็มแต่ละต้นเพื่อทบทวนการออกแบบให้สอดคล้องกับสภาพจริง ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอแนวทางการวิเคราะห์หาแรงในเสาเข็มแต่ละต้นที่มีแรงภายนอกทั้งแรงในแนวดิ่ง
การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีการคำนวณตามทฤษฎีฐานรากแข็งแกร็งและยืดหยุ่น โดยนำเสนอการประยุกต์ใช้โปรแกรม PileDiv MS. Excel ที่ทางทีมผู้วิจัยเป็นผู้พัฒนา ซึ่งสามารถหาแรงในเสาเข็มแต่ละต้นได้ โดยมีการดำเนินการตามแผนการทดลองเปรียบเทียบผลลัพธ์กับโปรแกรมที่ใช้วิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ในการวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรกรม PileDiv MS. Excel เปรียบเทียบกับ โปรแกรม DRMK, AFES 3.0 มีค่าแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มมีค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกันในทุกกรณี เมื่อเปียบเทียบผลลัพธ์กับโปรแกรม STAAD.Pro ที่ใช้ทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นแบบ Strut-Tie Model และ เสาเข็มแบบสปริง(Kpile) พบว่าค่าแรงของเสาเข็มจาก PileDiv MS. Excel แตกต่างกันกับ STAAD.Pro ซึ่งมีแรงถ่ายสู่เสาเข็มที่อยู่ในช่วงกลางฐานมาก และกระจายแรงสู่เสาเข็มต้นอื่น ๆ มากขึ้น เมื่อเสาเข็มเป็นแบบสปริงลู่เข้าคล้ายฐานรากแข็งแกร็ง
ABSTRACT
Pile driving or drilling rigs are often misaligned and expected moves from the required position Engineers and/or builders need to calculate the force analysis of each pile to review the design in accordance with actual conditions. Therefore, this research is intended to offer guidance to determine each pile force within the external vertical force.
The research is done by using theoretical calculations based on the flexibility and rigidity principles. In addition, PileDiv. MS. Excel application has been created developed by Research Team to determine the reaction of piles that had to compare with an analysis program using finite element method as experiment plan.
It was found that the research results from DRMK, AFES 3.0. was same as PileDiv. MS. Excel. However, The results from STAAD.Pro based on Strut-Tie Model and Spring Pile (Kpile) was different. The results were more distribute to piles near foundation center. Moreover, the distribution of piles seems to be convergence to rigid foundation when applied spring piles.
การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ | Comparison Analysis of Load Distribution on Piles Caused by Pile Deviation Using Flexible and Rigid Foundation Theory with Finite Element Method
Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand
รายงานการวิจัยของมหาวิทยาลัยสยาม:
- การศึกษาขนาดยาต้านจุลชีพที่ใช้บ่อยในหอผู้ป่วยวิกฤต โดยวิธี Monte Carlo simulation ในผู้ป่วยภาวะไตวายเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง
- การเปลี่ยนผ่านของตลาดน้ำในประเทศไทย: กระบวนการสร้างสรรค์ สมุดภาพเรียงความขาวดำ เพื่อเล่าเรื่องราวตลาดน้ำในประเทศไทย
- ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการบริการของฝ่ายต้อนรับส่วนหน้าในโรงแรม 5 ดาว
- สมรรถนะที่จำเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม