ชื่อบทความ: | ระบบคูปองอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสวัสดิการอาหาร |
Research Article: | E-coupon system for food welfare |
ผู้เขียน/Author: | ตะวัน ภูรัต, กาญจนา ศิลาวราเวทย์, สุเทพ ทัพธวัช | Tawan Phurat, Dr.Kanchana Silawarawet, Suthep Thuthawash |
Email: | tawan.phu@siam.edu, kanchana.sil@siam.edu, suthep.thu@siam.edu |
สาขาวิชา/คณะ: | ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160 |
Department/Faculty: | Faculty of Computer Engineering, Siam University, Bangkok 10160 |
Published/แหล่งเผยแพร่: | การประชุมเครือข่ายวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 11 |
เอกสารอ้างอิง/Citation
ตะวัน ภูรัต, กาญจนา ศิลาวราเวทย์ และ สุเทพ ทัพธวัช. (2562). ระบบคูปองอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสวัสดิการอาหาร. ใน รายงานการประชุม การประชุมเครือข่ายวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 11. (569-572). จังหวัดพระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการออกแบบและพัฒนาระบบคูปองอิเล็กทรอนิกส์ใช้กับสวัสดิการอาหารโดยบูรณาการร่วมกับบัตรพนักงานอาร์เอฟไอดีชนิดความถี่ต่ำกับระบบสมองกลฝังตัว เชื่อมโยงการทางานเข้ากับระบบฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ทดแทนการใช้คูปองกระดาษซึ่งมีข้อเสียคือสิ้นเปลืองกำลังคนในการจัดการ ชำรุดเสียหายง่าย การควบคุมการใช้คูปองให้เป็นไปตามนโยบายทำได้ยาก ใช้เวลาในการนับ รวมถึงอาจใช้คูปองซ้ำซ้อน และมีความไม่สะดวกในการใช้งาน ผลการทดสอบกับบัตรผู้ใช้งานจานวน 100 ใบใน 9 หัวข้อการทดสอบ ระบบสามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและตอบสนองความต้องการของบริษัทได้เป็นอย่างดี ลดภาระงานของฝ่ายบุคคล สามารถควบคุมการใช้คูปองให้เป็นไปตามนโยบาย สามารถตรวจสอบเชื่อถือได้ และสะดวกต่อการใช้สิทธิ์ของพนักงาน
คำสำคัญ: คูปองอิเล็กทรอนิกส์, อาร์เอฟไอดี, ระบบสมองกลฝังตัว
ABSTRACT
This research is the design and development of an E-coupon system for food welfare that is integrated with a low-frequency RFID card of employee with embedded system instead of the traditional coupon paper. However, this helps to connect to the database in order to avoid disadvantages such as management time, fragile as well as difficult to enforcing the policy. By using the traditional way can also take time to count, it can cause the duplication of spending coupons and so it is not convenient to use. Finally, as the results, after applying a 100 RFID with 9 domain tests we have discovered that the system performed effectively and has met the requirements, which helped to reduce the time to operate and performed the policy enforcement efficiently as well as enable to be verified and trusted by the use of employee.
Keywords: e-Coupon, RFID, Embedded System.
ระบบคูปองอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสวัสดิการอาหาร | E-coupon system for food welfare
Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand