หัวข้อสารนิพนธ์: Project Title: |
การวิเคราะห์ความสอดคล้องของกระบวนการให้บริการผู้ป่วยนอกโดยใช้เทคนิคเหมืองกระบวนการ Conformance Analysis of Outpatient Service Process Using Process Mining Technique |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นายธนวัฒน์ จัตุรงค์พัฒนา Mr. Tanawat Jaturongpattana |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ Prof. Dr. Wichian Premchaiswadi |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science |
สาขาวิชา: Major: |
เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology |
คณะ: Faculty: |
บัณฑิตวิทยาลัย Graduate Schools |
ปีการศึกษา: Academic year: |
2563 2020 |
URL: Published แหล่งเผยแพร่ผลงาน |
แหล่งเผยแพร่ผลงาน IEEE ICT & Knowledge Engineering 2017 Conference, November 22-24, 2017, Siam University, Bangkok, Thailand |
การอ้างอิง|Citation
ธนวัฒน์ จัตุรงค์พัฒนา. (2563). การวิเคราะห์ความสอดคล้องของกระบวนการให้บริการผู้ป่วยนอกโดยใช้เทคนิคเหมืองกระบวนการ. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
Jaturongpattana T. (2019). Conformance analysis of outpatient service process using process mining technique. (Master’s independent study). Bangkok: Graduate Schools, Siam University.
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องกันของกระบวนการให้บริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลชมชุมกับกระบวนการการให้บริการผู้ป่วยนอกตามคู่มือการปฏิบัติงานมาตรฐาน โดยใช้เทคนิคการทำเหมืองกระบวนการ (Process mining) ด้วยอัลกอริทึม Conformance Analysis ผ่านทางโปรแกรม Disco และ ProM โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการดังต่อไปนี้ 1) สร้างแบบจำลองของจากคู่มือการปฏิบัติงานให้ออกมาในรูปแบบ Petri net 2) นำข้อมูลที่เก็บจากการให้บริการผู้ป่วยนอกจริงมาทำ Conformance Analysis กับแบบจำลองที่สร้าง 3) สรุปและวิเคราะห์ผล จากการวิจัยนี้จะทราบถึงเส้นทางที่มีความถี่การใช้บริการจริงในแบบจำลองและได้ผลลัพธ์ของกระบวนการทำงานมีความสอดคล้องกัน 83% ทำให้เห็นความแตกต่างของกระบวนการการให้บริการจริงกับแบบจำลองตามมาตรฐาน เพื่อที่สามารถนำไปปรับปรุงกระบวนการการให้บริการ ด้านของเวลาและขั้นตอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ: ตรวจสอบความสอดคล้อง, เหมืองกระบวนการ, ผู้ป่วยนอก
Abstract
The main objective of this research was to analyze the consistency of the Out Patient Department (OPD) service process in a hospital with the intention of providing outpatient services in accordance with the standard operating manual using the process mining technique and Conformance Analysis algorithm supported by Disco and ProM. This study process included: 1) To make a model obtained from the operating manual in terms of Petri net graphs; 2) To generate a model through Conformance Analysis process mining technique applied on the data previously collected from the actual outpatient services; 3) To summarize and analyze the results. The results of the study showed that routes with the real service frequencies in the model were consistent.
Remane if. Moreover, the approach could help to distinguish the differences between actual service and the standard model, known as bottlenecks. Gaining insight on this data could significantly lead to better improvement of the entire service process, saving time and be efficient.
Keywords: Conformance Analysis, Process Mining, Out Patient Department.
การวิเคราะห์ความสอดคล้องของกระบวนการให้บริการผู้ป่วยนอกโดยใช้เทคนิคเหมืองกระบวนการ | Conformance Analysis of Outpatient Service Process Using Process Mining Technique
Master of Science in Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand
Related by Advisor
- การวิเคราะห์เพื่อค้นหาขั้นตอนการทํางานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดของระบบสารสนเทศโดยการใช้เทคนิค Fuzzy Miningและ Inductive Miner
- การทำเหมืองกระบวนการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแก่การจัดกิจกรรมพิเศษผ่านทางคอลเซ็นเตอร์ของธนาคารโดยใช้ Fuzzy Miner
- การศึกษาเพื่อการตรวจสอบระยะเวลาในการทำงานของศูนย์ให้บริการลูกค้าสัมพันธ์ทางโทรศัพท์โดยใช้ Fuzzy Miner และ Transition Systems
- การใช้เทคนิค Transition Systems เพื่อวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนการรักษาของโรงพยาบาล
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย
- การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการรักษาพยาบาลด้วย Conformance checking
- การประยุกต์ใช้ Inductive visual miner ในการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการทำหัตถการ
- การปรับปรุงขั้นตอนการรักษาพยาบาลด้วย Repair Model