- 1. การอ้างอิง|Citation
- 2. บทคัดย่อ
- 3. ABSTRACT
- 4. Link to Publication
- 5. ระบบบันไดกำลังไฟฟ้าต่อหน่วยสำหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกำลังสองน้อยที่สุด | Design and Construction of Liquid Mixer Machine Controlled by Microcontroller
- 6. Related
ชื่อบทความ: | ระบบบันไดกำลังไฟฟ้าต่อหน่วยสำหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกำลังสองน้อยที่สุด |
Research Article: | Per-Unit Power Ladder System for Energy Conservation of Variable Speed Pumps by Integrating Affinity Law with Least Square Method |
ผู้เขียน/Author: | โตมร สุนทรนภา | Tomorn Soontronnapa |
Email: | tomorn.soo@siam.edu |
สาขาวิชา/คณะ: | ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160 |
Department/Faculty: | Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok 10160 |
Published/แหล่งเผยแพร่: | การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT 13th) วันที่ 31 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ | 13th Conference on Energy Newtowrk of Thailand “Sustainable Energy Development for Community and Innovation” |
การอ้างอิง|Citation
โตมร สุนทรนภา. (2560). ระบบบันไดกำลังไฟฟ้าต่อหน่วยสำหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกำลังสองน้อยที่สุด. ใน รายงานการประชุมการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT13th) (หน้า 1267-1275). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
Soontronnapa T. (2017). Per-unit power ladder system for energy conservation of variable speed pumps by integrating affinity law with least square method. In 13th Conference on Energy Newtowrk of Thailand “Sustainable Energy Development for Community and Innovation” (pp. 1267-1275). Chiang Mai: Maejo University.
บทคัดย่อ
บทความนี้เสนอเทคนิคในการประหยัดพลังงานเครื่องสูบจ่ายน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ด้วยการประยุกต์ใช้กฎความสัมพันธ์และการประมาณค่าพารามิเตอร์โดยวิธีกําลังสองน้อยที่สุด รวมเรียกว่าระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วย ทําการศึกษากับเครื่องสูบน้ำชนิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง จํานวน 4 เครื่อง ของสถานีสูบจ่ายน้ำ โรงงานผลิตน้ำมหาสวัสดิ์จากการศึกษาวิจัยทําให้ได้แบบจําลองแรงดันสูงมอบ เงื่อนไขการสลับเครื่องสูบน้ำในลักษณะขึ้น-ลง และรูปแบบการจัดตารางที่เหมาะสมที่สุด เทคนิคที่นําเสนอได้นําไปทดสอบในการปฏิบัติงานจริง เมื่อนําดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตมาใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบก่อนและหลังศึกษา พบว่าเทคนิคนี้สามารถทําให้เกิดผลประหยัดพลังงานได้มากกว่า 11.59 %
คำสำคัญ: การอนุรักษ์พลังงาน, เครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้, กฎความสัมพันธ์, วิธีกําลังสองน้อยที่สุด
ABSTRACT
This paper presents energy saving techniques for variable speed water pumps. By applying the affinity law and estimating the least squares parameter, this is called the Per-Unit Power Ladder System. A study is conducted with four centrifugal pumps at distribution pumping station, Mahasawat water treatment plant. Based on the research results, the system provides delivery pressure models, pump-up switching conditions in up-down manner and the optimal scheduling patterns. The techniques presented are tested in actual operation. When the specific energy consumption index used as a comparison before and after study, it has been found that this technique can save energy more than 11.59%
Keywords: energy conservation, variable speed pump, affinity law, least square method.
ระบบบันไดกำลังไฟฟ้าต่อหน่วยสำหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกำลังสองน้อยที่สุด | Design and Construction of Liquid Mixer Machine Controlled by Microcontroller
Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand
Related
- การควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยใช้การออกแบบตัวควบคุมพีไอที่มีค่าพุ่งเกินน้อยที่สุด
- Shadow Bandpass Filter with Q-improvement
- ระบบแสดงผลและควบคุมเครื่องปรับอากาศภายในสำนักงานด้วยไอโอที
- การพัฒนาเครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ตามโครงการสหกิจศึกษาของนักศึกษา สถาบันวิศวกรรมการพิมพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
- การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านสหกิจศึกษา: กรณีศึกษาการออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบการรั่วซึมของหม้อน้ำรถยนต์ควบคุมด้วยพีแอลซี