ชื่อโครงงาน: Project Title: |
การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางป้องกันการเสียหายของหุ่นยนต์เชื่อม Problem Analysis and Preventive Maintenance of Welding Robot Damage |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นาย เกริกเกียรติ ทับพิมล, นาย ณัฐดนัย ปล้องมาก Mr. Kerkiat Thabpimon, Mr. Natdanai Plongmak |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ Asst.Prof. Wipavan Narksarp |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering |
ภาควิชา: Major: |
วิศวกรรมไฟฟ้า Electrical Engineering |
คณะ: Faculty: |
วิศวกรรมศาสตร์ Engineering |
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา: Semester / Academic year: |
3/2562 3/2019 |
การอ้างอิง/citation
เกริกเกียรติ ทับพิมล และ ณัฐดนัย ปล้องมาก. (2562). การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางป้องกันการเสียหายของหุ่นยนต์เชื่อม. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
บทคัดย่อ
โครงงานสหกิจศึกษานี้นำเสนอการวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางป้องกันการเสียหายของหุ่นยนต์เชื่อม ซึ่งจากการศึกษาระบบงานและการซ่อมเครื่องจักร ระหว่างการปฏิบัติงานในโครงการสหกิจศึกษามหาวิทยาลัยสยามร่วมกับบริษัท ซังโกะ ไทย ออโตโมทีฟ พาร์ทส์ จำกัด พบว่ามีปัญหาการหยุดกระบวนการผลิตของหุ่นยนต์เชื่อมชิ้นงาน เนื่องจากอุปกรณ์ภายในตู้ควบคุมการทำงานเสียหาย
คณะผู้จัดทำได้ทำการรวบรวมปัญหาตั้งแต่เดือน มกราคม-มีนาคม 2563 และเปรียบเทียบเวลาการหยุดกระบวนการผลิต เพื่อนำปัญหาการหยุดของกระบวนการผลิตที่ใช้เวลามากที่สุดในระยะเวลา 3 เดือน มาทำการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์แบบ Why – Why Analysis ทำให้ทราบถึงปัญหาของการหยุดกระบวนผลิตได้อย่างตรงจุด สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว และการลดการเกิดปัญหาเดิมซ้ำ และสามารถนำไปขยายผลเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตอื่นๆ ที่มีการใช้งานหุ่นยนต์เชื่อม เพื่อลดปัญหาการหยุดกระบวนการผลิตและลดค่าใช้จ่าย จากการส่งอุปกรณ์ซ่อมหรือซื้อใหม่ตามนโยบายของบริษัท
คำสำคัญ: ตู้ควบคุม, หุ่นยนต์เชื่อม, Why – Why Analysis
Abstract
This cooperative education project presents a problem analysis and preventive maintenance for welding robot damage. It was to study of work systems and machinery repair during the work in the cooperative education project of Siam University in collaboration with Sanko Thai Automotive Parts Co., Ltd. It was found that there was a problem stopping the production process of the welding robot causing the equipment inside the damaged control cabinet.
The team had been able to collect the problems since the month. January – March 2020 and compared the production stop times. The system solved the problem of stopping the production process in 3 months to analyze the problem by using the Why – Why analysis method to identify the problem of stopping the production process accurately. It can be fixed problems rapidly and reduced the recurrence of the same problem. The method can be expanded to use in other production processes with the use of a welding robot. The production process had been reduced costs from sending equipment for repairing or buying new according to company policy.
Keywords: Preventive Maintenance, Welding Robot, Why-Why Analysis.
การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางป้องกันการเสียหายของหุ่นยนต์เชื่อม | Problem Analysis and Preventive Maintenance of Welding Robot Damage
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand
Related
- การติดตั้งตู้เอ็มดีบีในห้องไฟฟ้า ณ โครงการ ไอ่ร่าวันของบริษัทเจนเพาเวอร์เอ็นจีเนียร์ส จำกัด
- งานระบบไฟฟ้าภายในห้องพักและทางเดินส่วนกลาง
- ระบบไฟฟ้าสนามบินและการติดตั้งสวิตช์เกียร์
- ระบบอัตโนมัติสำหรับรายงานอุณหภูมิและอัตราการไหลของน้ำในเครื่องจักรผ่านเว็บแอปพลิเคชัน กรณีศึกษา: บริษัทเอสเค โพลิเมอร์ จำกัด
- การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารสำนักงาน
- การควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยใช้การออกแบบตัวควบคุมพีไอที่มีค่าพุ่งเกินน้อยที่สุด
- การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านสหกิจศึกษา: กรณีศึกษาการออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบการรั่วซึมของหม้อน้ำรถยนต์ควบคุมด้วยพีแอลซี
- การบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าและระบบปรับอากาศ
- ระบบติดตามงานการติดตั้งวงจร FTTX ของบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
- การดำเนินงานและดูแลบำรุงรักษาระบบสายป้อนไฟฟ้า