กระบวนการทดลองแม่พิมพ์ก่อนผลิตยางรองเบ้าโช๊คหน้า

Last modified: November 26, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
กระบวนการทดลองแม่พิมพ์ก่อนผลิตยางรองเบ้าโช๊คหน้า
Production Process of Rubber for Shocks
ชื่อผู้เขียน –
Author:
นายสุกฤษฏิ์ นันตะกูล, Mr. Sukrit Nantakool
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
ผศ. ดร.ทวีศักดิ์ ปิยะทัศนานนท์ – Asst. Prof. Dr. Taweesak Piyatuchsananon
ชื่อปริญญา –
Degree:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ – Bachelor of Engineering Program in Automotive Engineering
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วศ.บ. (วิศวกรรมยานยนต์) – B. Eng. (Automotive Engineering)
คณะวิชา –
Faculty:
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
2/2565 (2022)

บทคัดย่อ

โครงงานนี้เป็นการศึกษาในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่บริษัท เอ็น.โอ.เค อุตสาหกรรม จำกัด ที่มีการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ประเภทยางรองแท่นเครื่องยนต์ บู๊ชรองห้องโดยสาร ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นในกระบวนการฉีดขึ้นรูป ทำให้ชิ้นงานเกิดครีบ รอยแตก และชิ้นงานฉีดไม่เต็ม ดังนั้นผู้จัดทำได้ศึกษากระบวนการฉีด และ หาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในการฉีดชิ้นส่วนยางในแม่พิมพ์ จากการทดลองพบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการอบแม่พิมพ์ยางรองเบ้าโช๊คหน้าอยู่ที่ 165 องศา ปริมาณยางที่เหมาะสมในการฉีดงานต่อหนึ่งครั้งอยู่ที่ 740 CC. และเวลาที่เหมาะสมในการอบ ชิ้นงาน อยู่ที่ 8 นาทีต่อหนึ่งคร้ังโดยใช้ยาง สูตร NR70WA

คำสำคัญ: ยางรองเบ้า, โช๊คหน้าเป็นชิ้นส่วน, อะไหล่ยานยนต์


Abstract

This project studied automotive parts manufacturers at N.O.K Industry Co., Ltd, which produces rubber engine mounts and rubber for shocks. The problem of rubber injection molding process were flash, crack line, and short shot. So, we tried to find the suitable setting for the molding process. From the results, the optimum temperature for shock rubber was at 165 degrees, the optimum amount of rubber for one injection was 740 CC, and the optimum time for baking the work piece was 8 minutes per use of rubber formula NR70WA.

Keywords: shock rubber, automotive parts, rubber engine mount.


ผศ. ดร.ทวีศักดิ์ ปิยะทัศนานนท์ – Asst. Prof. Dr. Taweesak Piyatuchsananon, วศ.บ. (วิศวกรรมยานยนต์) – B. Eng. (Automotive Engineering), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering), วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ – Bachelor of Engineering Program in Automotive Engineering, 2/2565 (2022)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 18
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print