Topics: -สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
การประเมินเปรียบเทียบปริมาณสารระเหยให้กลิ่นของกาแฟสำเร็จรูปที่ทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งและพ่นฝอย

ผศ. ดร.ณฐมล จินดาพรรณ – Asst. Prof. Dr. Nathamol Chindapan และชนากานต์ พ่วงเงิน – Chanakan Puangngoen. 2566 (2023). การประเมินเปรียบเทียบปริมาณสารระเหยให้กลิ่นของกาแฟสำเร็จรูปที่ทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งและพ่นฝอย – Comparative Evaluation of Volatile Aroma Compounds Content of Freeze-Dried and Spray-Dried Instant Coffees. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี|Science and Technology. วิทยาศาสตร์ (Science). วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร – Bachelor of Science Program in Food Industry Technology. วท.บ.

การประยุกต์ใช้กากมะพร้าวสำหรับการผลิตเม็ดบีดส์ซินไบโอติกในผลิตภัณฑ์อาหาร

ดร.ณัฎฐิกา ศิลาลาย – Dr. Nattiga Silalai. 2566 (2023). การประยุกต์ใช้กากมะพร้าวส าหรับการผลิตเม็ดบีดส์ซินไบโอติกในผลิตภัณฑ์อาหาร – Application of Coconut Meal for Synbiotic Beads Production in Food Products. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี|Science and Technology. วิทยาศาสตร์ (Science). วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร – Bachelor of Science Program in Industry Technology. วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) – B.S. (Food Industry Technology). Bangkok: Siam University

ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, มัทวัน ศรีอินทร์คำ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย. (2566). ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 28(3), 1424-1444.

การศึกษาแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำหมักผักสะทอน:การจัดจำแนกเบื้องต้นแบคทีเรียกรดแลคติก

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ญาณิน ทับทิม, จิตตรานนท์ เสือโต, อธิษฐาน เจริญพร และกาญจนา มหัทธนทวี. (2566). การศึกษาแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำหมักผักสะทอน:การจัดจำแนกเบื้องต้นแบคทีเรียกรดแลคติก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 9 (หน้า 359-366). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ผลของการดัดแปรต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชกล้วยหินดิบ

จิรนาถ บุญคง, ปิยนุสร์ น้อยด้วง และจิตตราภรณ์ แมงทับ. (2566). ผลของการดัดแปรต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชกล้วยหินดิบ. ใน รายงานการประชุม การประชุมระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 9 (หน้า 345-352). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อน ในน้ำปลาโซเดียมต่ำ

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และณฐมล จินดาพรรณ. (2564). ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อนในน้ำปลาโซเดียมต่ำ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (265-274)

การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดเพคตินจากเปลือกมะกรูดร่วมกับกรดซิตริก

จิรนาถ บุญคง, และปิยนุสร์ น้อยด้วง. (2564). การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดเพคตินจากเปลือกมะกรูดร่วมกับกรดซิตริก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (512-520)

ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด

อ้าพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ยุพารัตน์ จาบถนอม และ อรุณ อินทรักษ์. (2019). ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 133-136.

การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก

ปิยนุสร์ น้อยด้วง, จิรนาถ บุญคง และภัทรธร งามวัฒนกุล. (2562). การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 77-80.

การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ

จิรนาถ บุญคง, ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ชลธิชา สุขยืนยงศ์ และซูมัยยะห์ บูระกะ. (2019). การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ. Agricultural Science Journal, 50(2), 185-188.

การใช้โปรตีนรำข้าวหอมมะลิเป็นสารให้โฟมในผลิตภัณฑ์ชิฟฟ่อนเค้ก

ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ จิรนาถ บุญคง. (2564). การใช้โปรตีนรำข้าวหอมมะลิเป็นสารให้โฟมในผลิตภัณฑ์ชิฟฟ่อนเค้ก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (521-528). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

การพัฒนาผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนยแข็งชนิดอ่อน เสริมด้วยผงโปรตีนมะพร้าวเข้มข้น

สมฤดี ไทพาณิชย์. (2020). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนยแข็งชนิดอ่อน เสริมด้วยผงโปรตีนมะพร้าวเข้มข้น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28(12), 2173-2184.

การพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไบโอพอลิเมอร์ผสมสารสกัดใบเตยในการควบคุมการเกิดออกซิเดชันของไขมันในการเก็บรักษาอาหาร

ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ. (2562). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไบโอพอลิเมอร์ผสมสารสกัดใบเตยในการควบคุมการเกิดออกซิเดชันของไขมันในการเก็บรักษาอาหาร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.