โครงการออกแบบภาพประกอบเพื่อเล่านิทานพื้นบ้านของประเทศญี่ปุ่น เรื่อง Issun Boushi

Last modified: August 31, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
โครงการออกแบบภาพประกอบเพื่อเล่านิทานพื้นบ้านของประเทศญี่ปุ่น เรื่อง Issun Boushi
Illustration of “Issun Boushi” Novel
ชื่อผู้เขียน –
Author:
ณัชภสกฤต ซื่อกำเนิด, Natphotsakrit Suekumnerd
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
อาจารย์อรรถเศรษฐ์ ปรีดากรณ์ – Mr. Auttasead Predakorn
ชื่อปริญญา –
Degree:
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแอนิเมชันและสื่อสร้างสรรค์ – Bachelor of Science Program in Animation and Creative Media
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วท.บ. (แอนิเมชั่นและสื่อสร้างสรรค์) – B.Sc. (Animation and Creative Media)
คณะวิชา –
Faculty:
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology)
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
2564 (2021)

บทคัดย่อ

     การออกแบบภาพประกอบชิ้นนี้เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับนิทานพื้นบ้านของประเทศญี่ปุ่นเรื่อง “Issun Boushi หรือ เด็กชายหนึ่งนิ้ว” เพราะ ในประเทศไทยนั้นได้รับวัฒนธรรมจากหลากหลายประเทศ ที่เข้ามามีบทบาทในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งหนึ่งในนั้นก็มีประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับอิทธิพลทางสื่อบันเทิงต่างๆ เช่น สื่อภาพยนตร์ สื่อแอนิเมชัน สื่อหนังสือการ์ตูน เป็นต้น แต่เสื่อเหล่านี้ต่างก็มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเนื้อเรื่องมาจากนิทานพื้นบ้านเป็นส่วนใหญ่ แต่นิทานพื้นบ้านของประเทศญี่ปุ่นมีรูปแบบที่ล้าสมัย และไม่น่าสนใจ จึงต้องการสร้างสื่อที่สามารถเล่าเรื่องนิทานพื้นบ้านเรื่อง “Issun Boushi” ที่มีความน่าสนใจและสามารถเข้าถึงได้ง่ายมากยิ่งขึ้น

คำสำคัญ: ภาพประกอบ, นิทานพื้นบ้าน


Abstract

     This study was on the illustration of the Japanese folklore “Issun Boushi or the One Inch Boy,” because Thailand receives culture from many countries. One is Japan, which has been influenced by various entertainment materials. For example, film media, animation, and comic book media, have improved and changed the storyline from most folklore. Japanese folklore has a unique and hard-to-reach theme. So I wanted to create an illustration that could tell the folklore of “Issun Boushi” that was more interesting and accessible.

Keywords: Illustration, story, Japan, folklore


อาจารย์อรรถเศรษฐ์ ปรีดากรณ์ – Mr. Auttasead Predakorn, วท.บ. (แอนิเมชั่นและสื่อสร้างสรรค์) – B.Sc. (Animation and Creative Media), เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology), วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแอนิเมชันและสื่อสร้างสรรค์ – Bachelor of Science Program in Animation and Creative Media, 2564 (2021)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 61
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code