การศึกษาเครื่องปั๊มโลหะชนิดเดินเฟืองแบบข้อเหวี่ยง

Last modified: December 7, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
การศึกษาเครื่องปั๊มโลหะชนิดเดินเฟืองแบบข้อเหวี่ยง
A Study of a Crankcase Gear Walking Type Metal Stamping Machine
ชื่อผู้เขียน –
Author:
นายอินทัช ผิวดำดี, Mr.Intouch Piewdumdee
นายวิทัศน์ กะการดี, นายเจตนริน อินทจร, Mr.Vitas Kakarndee, Mr.Jetnarin Intajhon
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
อาจารย์ชนม์วิโรจน์ จิรชาคริต – Mr. Chonwiroj Chirachakhrit
ชื่อปริญญา –
Degree:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ – Bachelor of Engineering Program in Automotive Engineering
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วศ.บ. (วิศวกรรมยานยนต์) – B. Eng. (Automotive Engineering)
คณะวิชา –
Faculty:
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
2/2566 (2023)

บทคัดย่อ

การปฏิบัติงานสหกิจในครั้งนี้ในตำแหน่ง QC/QA และออกแบบเขียนแบบ 3 มิติ ตั้งแต่ 15 มกราคม 2567 – 3 พฤษภาคม 2567 ตลอดระยะเวลา 4 เดือน โครงงานปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเล่มนี้ได้ทำการศึกษาการทำงานของชิ้นส่วนต่างๆในเครื่องปั๊มโลหะชนิดเดินเฟืองแบบข้อเหวี่ยง การบำรุงรักษาเครื่องจักร เพื่อเป็นประโยชน์ต่อช่างบำรุงรักษา และตรงตามข้อกำหนด ISO 9001
ศึกษาการทำงานของชิ้นส่วนต่างๆในเครื่องปั๊มโลหะชนิดเดินเฟืองแบบข้อเหวี่ยง การบำรุงรักษาเครื่องจักร เขียนแบบ 3 มิติ แก้ไขปัญหาชิ้นงานไม่ตรงตามแบบที่ได้ออกแบบไว้ให้รวดเร็วที่สุด เพื่อให้ชิ้นงานได้มาตรฐาน มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ต่อองค์กรในการบำรุงรักษาได้ง่ายยิ่งขึ้น และตรงตามมาตรฐาน ISO 9001

จากการศึกษาพบว่าผลการดำเนินงานศึกษาการทำงานของชิ้นส่วนต่างๆในเครื่องปั๊มโลหะชนิดเดินเฟืองแบบข้อเหวี่ยง การเขียนแบบ 3 มิติ ชิ้นงาน ตามมาตรฐาน ISO 9001 การปฏิบัติงาน คือ การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของเครื่องปั๊มแต่ละชนิด เช่น การทำงานของเครื่องปั๊ม ระบบกำลังอัดขนาดของเครื่องปั๊ม อันจะเป็นผลให้องค์กรได้รับผลงานตามที่คาดหมายไว้ในแผนทั้งในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และมาตรฐาน ISO 9001 ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรและคณะผู้จัดทำ

คำสำคัญ: ชิ้นส่วนต่างๆในเครื่องปั๊ม, กลไกการทำงานของชิ้นส่วนต่างๆ, การดูแลรักษาเครื่องจักร


Abstract

This cooperative project involving QC/QA, 3D drawings, and design was conducted from January 15, 2024 to May 3, 2024, approximately 4 months. The maintenance of the machinery was studied for the benefit of the maintenance technicians and to meet the ISO 9001 requirements.

The study of the operation of various parts in a crankshaft gear-driven type of metal stamping machine, machine maintenance, 3D drawings, and troubleshooting workpieces that do not meet requirements was completed. There were done quick to ensure that the workpieces met standards and be clearer and easier for the organization to maintain machinery and meet ISO 9001 standards.

According to the results of the study the 3D drawings of the workpieces were in accordance with ISO 9001. The study of basic information of each type of stamping machine, such as the operation and size of the pump in the compression system, resulted in the organization achieving results both quantitatively and quantitatively, as expected. As a result, this study will also benefit the organization and the project team.

Keywords: parts stamping machine, working mechanism, machine maintenance


อาจารย์ชนม์วิโรจน์ จิรชาคริต – Mr. Chonwiroj Chirachakhrit, วศ.บ. (วิศวกรรมยานยนต์) – B. Eng. (Automotive Engineering), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering), วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ – Bachelor of Engineering Program in Automotive Engineering, 2/2566 (2023)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 24
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print