ความแม่นยำการพยากรณ์อาชีพภายหลังการสำเร็จการศึกษาโดยการใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลกรณีศึกษา หลักสูตรธุรกิจดิจิทัล

Last modified: September 29, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
ความแม่นยำการพยากรณ์อาชีพภายหลังการสำเร็จการศึกษา โดยการใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลกรณีศึกษา หลักสูตรธุรกิจดิจิทัล
Accuracy of Career Prediction After Graduation Using Data Mining Techniques.
ชื่อผู้เขียน –
Author:
นางสาวทอแสง ใจงาม, นางสาวนภสร ใจทับทิม
Miss Tosang Jaingam, Miss Napasorn Jaithubtim
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
อาจารย์ศรัญธร มั่งมี – Miss Saranthon Maungmee
ชื่อปริญญา –
Degree:
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจดิจิทัล – Bachelor of Business Administration Program in Digital Business
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
บธ.บ. (ธุรกิจดิจิทัล) – B.B.A. (Digital Business)
คณะวิชา –
Faculty:
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology)
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
2/2566 (2023)

บทคัดย่อ

     งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบการคัดเลือกคุณลักษณะที่มี ความเหมาะสมด้วย เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) เทคนิคการจำแนกข้อมูลด้วยวิธีแบ็กกิ้ง (Bagging) และ เทคนิคการจำแนกข้อมูลเนอีฟเบย์ (Naive Bayes) และ 2) เพื่อประยุกต์ใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลเพื่อแนะนำอาชีพสำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรด้านคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยสยามด้วย รูปแบบที่วิเคราะห์ได้จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 และประเมินประสิทธิภาพการใช้งาน

     ผลจากการศึกษาส่วนการศึกษาแบบจำลองการทำเหมืองข้อมูลเพื่อแนะนำอาชีพด้านไอทีด้วย เทคนิคการศึกษา ได้แก่ เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ เทคนิคการจำแนกข้อมูลด้วยวิธีแบ็กกิ้ง และเทคนิคเนอีฟเบย์ พบว่าเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ มีค่าความถูกต้อง 98.86% ค่าความคลาดเคลื่อน 0.02% และเทคนิคการจำแนกข้อมูลด้วยวิธีแบ็กกิ้ง มีค่าความถูกต้อง 98.86% ค่าความคลาดเคลื่อน 0.02% แสดงให้เห็นว่าเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจและเทคนิคการจำแนกข้อมูลด้วยวิธีแบ็กกิ้ง นั้นเป็นแบบจำลองตามอัลกอริทึมดังกล่าว ซึ่งมีประสิทธิภาพมากที่สุดเหมาะจะนำไปพัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยประยุกต์ใช้แบบจำลองตามอัลกอริทึมข้างต้นพัฒนา

คำสำคัญ: การพยากรณ์อาชีพ, การจำแนกข้อมูล, เทคนิคเหมืองข้อมูล


Abstract

     This research aims: 1) to study, analyze, and compare the selection of appropriate characteristics by Decision Tree, Bagging, and Naive Bayes techniques; and 2) to apply data mining techniques to recommend careers for undergraduate students in the Computer Science program of Siam University using the analyzed model from Objective 1 and evaluate the efficiency of use.

     The results of the data mining model to recommend IT careers, found that Decision Tree technique hads 98.86% accuracy with 0.02% error, and Bagging technique hads 98.86% accuracy with 0.02% error, indicating that Decision Tree technique and Bagging technique are the most efficient models according to the algorithm thegare suitable for developing a career guidance system for undergraduate students by applying the model according to the above algorithm.

คำสำคัญ: career forecasting, data classification, data mining techniques


อาจารย์ศรัญธร มั่งมี – Miss Saranthon Maungmee, บธ.บ. (ธุรกิจดิจิทัล) – B.B.A. (Digital Business), เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology), บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจดิจิทัล – Bachelor of Business Administration Program in Digital Business, 2/2566 (2023)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 25
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code