Tags: ดร. ภญ.กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล - Dr. Kamolwan Tantipiwattanaskul
ประสบการณ์การรีวิวผลิตภัณฑ์สุขภาพของนิสิต/นักศึกษาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย

อ. ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – Mr. Shinnawat Saengungsumalee. Factors Associated with Irrational Antibiotic Use Behaviour among Social Media Users in Thailand. 2566 (2023). ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์. บทความ (Paper).วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care. Bangkok: Siam University

การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2566). การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน. วารสารศิลปการจัดการ, 7(2), 381 – 401.

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, ชวิน อุ่นภัทร, ปรุฬห์ รุจนธํารงค์, ชลธิชา สลักศิลป์, ศุภาพิชญ์ ศิริมงคล, กนกวรรณ แย้มหงษ์ และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 8(3), 495-507.

สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, อรปรียา ศักดาพิสุทธิ์, นิชกานต์ ศิลประเสริฐ, ปทุมพร เทพกัน, เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล และ ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา, 2(2), 10-23.