การตรวจจับถุงขยะนอกถังขยะโดยใช้เฟฟิเซนต์ดีท

Last modified: February 25, 2021
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: การตรวจจับถุงขยะนอกถังขยะโดยใช้เฟฟิเซนต์ดีท
Research Article: Garbage Bag Detection using EfficientDet
ผู้เขียน/Author: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทัศนัย พลอยสุวรรณ, อาจารย์กฤตพงศ์ มงคลวนิช, ดร.อารีรัตน์ ปฐมชัยวาลย์ | Assist. Prof. Dr. Tuchsanai Ploysuwan, Mr. Kritphong Mongkhonvanit, Dr. Areerat Pathomchaiwal
Email: areerat.pat@siam.edu
สาขาวิชา/คณะ: สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า และ สาขาวิชาวิศวกรรมการพิมพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department/Faculty: Faculty of Engineering in Electrical, Faculty of Engineering in Printing & Faculty of Science in Siam University, Bangkok 10160
Published/แหล่งเผยแพร่: การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43 The 43rd Electrical Engineering Conference (EECON-43) วันที่ 28-30 ตุลาคม 2563 มหาวิทยาลัยนเรศวร

การอ้างอิง/citation

ทัศนัย พลอยสุวรรณ, กฤตพงศ์ มงคลวนิช และ อารีรัตน์ ปฐมชัยวาลย์. (2563). การตรวจจับถุงขยะนอกถังขยะโดยใช้เฟฟิเซนต์ดีท. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43 (The 43rd Electrical Engineering Conference (EECON-43)) (หน้า 430-433). พิษณุโลก: ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.


บทคัดย่อ

ปัญหาของการจัดการขยะมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ การตรวจจับถุงขยะด้วยเทคนิคเอฟฟิเซนต์ดีท ที่นําเสนอ ฐานข้อมูลภาพถุงขยะจาก Garbage object detection Dataset ทั้งหมด 1,050 ภาพ แบ่งออกเป็น ภาพสร้าง Annotation Bounding Box จํานวน 735 ภาพ และภาพ Pseudo-Labeling จํานวน 315 ภาพ โดยใช้เทคนิคการ เพิ่มภาพ อาทิ การหมุน การย่อ-ขยายภาพ การกลับด้าน การปรับสีของ ภาพ จากผลการศึกษา พบว่า เอฟฟิเซนต์ดีทที่นําเสนอมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ค่า AP เพิ่มขึ้นที่ 6.9 % และมีค่าความผิดพลาดลดลงที่ 4.3%

คำสำคัญ: ถุงขยะ, การตรวจับวัตถุ, เอฟฟิเซนต์ดีท


ABSTRACT

The problem of waste management is trending higher every year. The research aims to detect garbage bags with the proposed EfficientDet technique. A total of 1,050 images of garbage object detection dataset images are divided into 735 Annotation Bounding Box images and 315 Pseudo-Labeling images by the image augmentation technique such as rotation, zoom, or flip, color adjustment image to the image. Finally, the proposed EfficientDet technique is more effective. AP increased by 6.9%, and samples with miscounted garbage bags decreased by 4.3%.

Keywords:  Garbage Bag, Object Detection, EfficientDet.


การตรวจจับถุงขยะนอกถังขยะโดยใช้เฟฟิเซนต์ดีท | Garbage Bag Detection using EfficientDet

Faculty of Engineering and Faculty of Science, Siam University, Bangkok, Thailand

Related

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 829
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print