การซ่อมบำรุงและหาประสิทธิภาพเชิงกลและเชิงไฟฟ้าของระบบปรับอากาศ

Last modified: February 24, 2025
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
การซ่อมบำรุงและหาประสิทธิภาพเชิงกลและเชิงไฟฟ้าของระบบปรับอากาศ
Maintenance and Evaluation of the Mechanical and Electrical Performance of an Air Conditioning System
ชื่อผู้เขียน –
Author:
ชยุตพงศ์ แดงเรือง, เจษฎากร แสงภู
Chayutpong Dangruang, Jadesadakorn Sangpoo
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย – Dr. Chanchai Wiroonritichai
ชื่อปริญญา –
Degree:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล – Bachelor of Engineering Program in Mechanical Engineering
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) – B. Eng. (Mechanical Engineering)
คณะวิชา –
Faculty:
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
3/2565 (2022)

บทคัดย่อ

     เครื่องทดสอบระบบปรับอากาศเป็นเครื่องทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพและสมรรถนะของระบบปรับอากาศเพื่อจะได้ทราบถึงประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศได้อย่างถูกต้องและรู้หลักการซ่อมบำรุงของระบบปรับอากาศและแก้ไขได้อย่างถูกวิธี
     ผลการทดสอบพบว่าระบบปรับอากาศที่ใช้ Thermostatic Expansion Valve ประสิทธิภาพเชิงกลมีค่าสัมประสิทธ์สมรรถนะในการทำความเย็น (COP) เท่ากับ 3.83 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงที่สุดและประสิทธิภาพเชิงไฟฟ้ามีค่าสัมประสิทธ์สมรรถนะในการทำความเย็นเท่ากับ 5.90 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงที่สุดรวมถึงค่าประสิทธิภาพการให้ความเย็น (EER) มีค่าเท่ากับ 20.0 ซึ่งมีค่ามากกว่า Capillary Tube และ Automatic Expansion Valve ดังนั้นในระบบปรับอากาศที่ใช้ Thermostatic Expansion Valve ส่งผลให้มีประสิทธิภาพการทำความเย็นสูงที่สุด

คำสำคัญ: เครื่องทดสอบระบบปรับอากาศ, ค่าประสิทธิภาพ, แบบทางไฟฟ้าและแบบทางกล


Abstract

An air conditioning system testing machine is used to evaluate the performance and efficiency of an air conditioning system to accurately determine the system’s efficiency and understand the principles of maintenance and repair, enabling us to troubleshoot effectively.
Test results revealed that the air conditioning system using a Thermostatic expansion valve exhibited the highest mechanical efficiency with a Coefficient of Performance (COP) of 3.83. It also had the highest electrical efficiency with a Coefficient of Performance (COP) of 5.90. Additionally, the Energy Efficiency Ratio (EER) was 20.0, which is higher than that of systems using a Capillary Tube or Automatic Expansion Valve. Thus, air conditioning systems equipped with a Thermostatic expansion valve offer the highest cooling efficiency.

Keywords: Air conditioning system testing machine, efficiency, electrical type and mechanical type


ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย – Dr. Chanchai Wiroonritichai, วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) – B. Eng. (Mechanical Engineering), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering), วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล – Bachelor of Engineering Program in Mechanical Engineering, 3/2565 (2022)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 5
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code