- KB Home
- หลักสูตรปริญญาตรี|Bachelor Degree
- คณะวิศวกรรมศาสตร์
- -สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
- การศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบระบบท่อประปาโดยใช้ท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์ในโครงการโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน
ชื่อโครงงาน: Project Title: |
การศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบระบบท่อประปาโดยใช้ท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์ในโครงการโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน Compartive Study of Plumbing System Design Using PVC and PPR Pipe in Project of Concordian Internation School |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นายณัฐภณ ราชเดิม Mr. Nuttapon, Ratchadrem |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย Dr. Chanchai Wiroonritichai |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering |
ภาควิชา: Major: |
วิศวกรรมเครื่องกล Mechanical Engineering |
คณะ: Faculty: |
วิศวกรรมศาสตร์ Engineering |
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา: Semester / Academic year: |
3/2560 3/2017 |
การอ้างอิง/citation
ณัฐภณ ราชเดิม. (2560). การศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบระบบท่อประปาโดยใช้ท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์ในโครงการโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทำการออกแบบหาขนาดท่อของระบบประปาโดยใช้ประเภทท่อพีวีซี และประเภทท่อพีพีอาร์ที่ใช้ในโครงการก่อสร้างอาคารโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน โดยเลือกใช้วิธีการสร้างตารางคำนวณหาขนาดท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและสรุปการเลือกใช้ประเภทท่อ ทำการเขียนสูตรการคำนวณหาขนาดท่อในโปรแกรมคำนวณสาเร็จรูป เพื่อความถูกต้อง รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย และเลือกท่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน ผลจากการศึกษาผลของการคำนวณหาขนาดท่อประปาในโครงการก่อสร้างอาคารโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน พบว่าขนาดของท่อพีพีอาร์และท่อพีวีซีมีขนาดใกล้เคียงกันแต่ต่างกันที่
คุณสมบัติของท่อแต่ละประเภท และได้เลือกใช้ท่อประเภทพีพีอาร์เพราะเปรียบเทียบกับประเภทท่อพีวีซีแล้วมีการใช้งานได้ดีกว่า ทนทานมากกว่าพบว่า หลังจากใช้โปรแกรมคานวณสาเร็จรูปทำให้การคำนวณหาขนาดท่อใช้เวลาที่สั้นลง สาเหตุที่ทางโครงการเลือกใช้ท่อประปาประเภทท่อพีพีอาร์เพราะว่ามีอายุการใช้งานได้นานถึง 50ปี มากกว่าท่อประปาประเภทท่อพีวีซีที่มีอายุการใช้งานได้เพียง 10 ปี เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงท่อ ถึงแม้ว่าท่อประเภทนี้จะมีราคาที่มากกว่าท่อพีวีซีประมาณ 62%
คำสำคัญ: การศึกษาเปรียบเทียบ, การออกแบบ, ระบบท่อประปา, ท่อพีวีซี, ท่อพีพีอาร์
Abstract
The work of the organizer was responsible for various systems with high-rise buildings. From the inspections, we found the building does not have an air compressor to use so, the producer had the idea to create an air compressor for use from unused refrigerator compressors. This case study objectives used a refrigerator compressor to replace the air compressor, which can create air pressure to be useful for booster pump system, inflate motorcycle tires, and for use to blow the dirt of the air conditioner filter. By choosing to create from waste materials helped to reduce the cost of work and can be conveniently used outside, which eliminates the need to buy air compressors at high prices.
The results from the case study found out while the compressor was working had a lower sound than the air compressor. The amount of air produced was 0. 15 liters per second, the efficiency of the air compressor was 2.14 liters per second per kilowatt, the clectric energy cost (per month) was 9.82 Baht per month. If the compressor has damage, it can always be replaced and the cost of creating the work piece was cheaper than buying a new air compressor at the shop 50% more or 1,500 Baht.
Keywords: Compressor, Air Compressor, Air Efficiency.
การศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบระบบท่อประปาโดยใช้ท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์ในโครงการโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน / Compartive Study of Plumbing System Design Using PVC and PPR Pipe in Project of Concordian Internation School
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand