การลดเวลาการเปลี่ยนลูกกลิ้งและปรับตั้งเครื่องรีดพลาสติกแผ่นด้วยเทคนิค SMED

Last modified: March 29, 2022
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: การลดเวลาการเปลี่ยนลูกกลิ้งและปรับตั้งเครื่องรีดพลาสติกแผ่นด้วยเทคนิค SMED
Research Article: Roller Changing and Setup Time Reduction of Plastic Sheet Extruder using SMED Technique
ผู้เขียน|Author: ชาณิดา พิทยานนท์ และ ปริญญา พิฒนวสันต์พร | Chanida Phitthayanon & Parinya Pattanawasanporn
Email: chanida.phi@siam.edu
ภาควิชา|คณะ: ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department|Faculty: Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok 10160
Published|แหล่งเผยแพร่: การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.พระนคร ครั้งที่ 2 วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร|Proceedings of the 2nd RMUTP Conference of Engineering and Technology, 19 May 2017 Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon

การอ้างอิง|Citation

ชาณิดา พิทยานนท์ และ ปริญญา พิฒนวสันต์พร. (2560). การลดเวลาการเปลี่ยนลูกกลิ้งและปรับตั้งเครื่องรีดพลาสติกแผ่นด้วยเทคนิค SMED. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.พระนคร ครั้งที่ 2 (หน้า 344-347). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

Phitthayanon C., & Pattanawasanporn P. (2017). Roller changing and setup time reduction of plastic sheet extruder using SMED technique. In Proceedings of the 2nd RMUTP Conference of Engineering and Technology (pp. 344-347). Bangkok: Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon.


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาการเปลี่ยนลูกกลิ้งและปรับตั้งเครื่องรืดแผ่นพลาสติกซึ๋งเป็นเครื่องจักรที่สำคัญของโรงงาน จากการวิเคราะค์ป้ญหาพบว่าในโรงงานแห่งนี้มีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายขนาดและลวดลายทำให้ต้องมีการตั้งค่าและเปลี่ยนลูกกลิ้งให้มีขนาดตามกำหนดการผลิตของโรงงาน โดยในหนึ๋งวันทำงานซึ๋งแบ่งการทำงานเป็น 2 กะ มีการปรับเปลี่ยนการตั้งค่าของเครื่องริดแผ่นพลาสติกเป็นจำนวน 12 ครั้งต่อวัน ฝ่วิจัยไต้พบว่าการตั้งค่าเครื่องริดพลาสติกแผ่นในแต่ละวันของกระบวนการนี้ที่มีค่ามากถึง 46% ของเวลาทำงานตั้งหมด ผู้วิจัยจึงทำการวิเคราะห่หาสาเหตุของความลู[ญเปล่าตั้นต้นด้วยแผนภูมิก้างปลา เมื่อไต้ทราบถึงสาเหตุว่ามาจากกระบวนการทำงานของพนักงาน จึงทำการศึกษาขั้นตอนการทำงานด้วยแผนภูมิการไหลและทำการจับเวลาการทำงานของพนักงานตั้งสองกะ เมื่อไต้ข้อมูลมาแก้วจึงนำเทคนิค SMED มาเพื่อวิเคราะห่งานและจัดการความสูญเสียเบื้องต้นของงาน โดยการปรับปรุงในครั้งนี้สามารถลดเวลาการปรับตั้งเครื่องริดพลาสติกแผ่นจาก 46 นาทีต่อครั้ง เหลือเพียง 38 นาทีต่อครั้ง หรือลดลงเท่ากับ 17.39% ของเวลาทำงานตั้งหมด หรือลดต้นทุนค่าแรงทางตรงของพนักงานได้เท่ากับ 29,200 บาทต่อปี

คำสำคัญ: การศึกษาการทำงาน, การเพื่มประสิทธิภาพในการผลิต, การลดเวลาของการเปลี่ยนงาน, SMED


ABSTRACT

The goal of this study was to reduce roller changing and setup time of the plastic sheet extruder machines which are important machines of the factory. From the analysis of the problem, we found that the factory produce products in many textures and dimensions. Hence, they have to change roller and setting of their extruder machines according to their production schedule. On a regular working day, which composes of 2 shifts, there are 12 setup processes. There was waste time in this process up to 46% of the working time. Therefore, we studied to identity the root cause the waste time using Ishikawa diagram. So, we found that the root cause is due to work instruction procedure. We, then, study the work process flow and determine the standard time of each step from both shifts. Then, we use SMED technique to analyses and manage the waste time of the setup process. Using this technique, we can reduce setup time from 46 minutes each to 38 minutes each which corresponds to 17.39% improvement. This setup time reduction results in saving of direct labor cost by 29,200 Baht annually.

Keywords: work study, productivity improvement, setup time reduction, SMED.


การลดเวลาการเปลี่ยนลูกกลิ้งและปรับตั้งเครื่องรีดพลาสติกแผ่นด้วยเทคนิค SMED|Roller Changing and Setup Time Reduction of Plastic Sheet Extruder using SMED Technique

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 2
Views: 751
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code