ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง

Last modified: December 17, 2022
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง
Research Article: Application of Rubber Latex and Soil Cement Develop Drought Relieving Water Pond
ผู้เขียน/Author: พีรวัฒน์ ปลาเงิน | Pheerawat Plangoen
Email: pheerawat.pla@siam.edu
สาขาวิชา/คณะ: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department/Faculty: Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok 10160
Published/แหล่งเผยแพร่: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2561 | Engineering Journal Chiang Mai University Vol. 25 No.2 May-Aug 2018

การอ้างอิง|Citation

พีรวัฒน์ ปลาเงิน. (2561). ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25(2), 170-80.

Plangoen P. (2018). Application of rubber latex and soil cement develop drought relieving water pond. Engineering Journal Chiang Mai University, 25(2), 170-80.


บทคัดย่อ

     งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเพิ่มคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินลูกรังด้วย ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 และน้ำยางพารา โดยทำการทดสอบกับตัวอย่างดินลูกรังที่ปรับปรุงด้วย ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยางพารา อัตราส่วน 5 : 2 : 1 โดยใช้ปริมาณน้ำยางพารา 5% , 7.5% , 10% และ 12.5% ของปริมาณน้ำโดยปริมาตร ซึ่งได้ทาการทดสอบค่ากำลังรับแรงอัด กำลังรับแรงดัด กำลังรับแรงดึง และการทดสอบการดูดซึมน้าดินซีเมนต์ผสมน้ำยางพารา ผลการศึกษาพบว่าอัตราส่วนดินซีเมนต์ผสมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ 7.5% ของปริมาณน้าที่ใช้ผสมดินซีเมนต์ ให้ค่าคุณสมบัติทางกลดีที่สุดและการดูดซึมน้ำต่ำสุด ที่ระยะเวลาการบ่ม 28 วัน ได้กาลังรับแรงอัด 84 ksc กำลังรับแรงดึง 19 ksc กำลังรับแรงดัด 8.75 ksc ร้อยละการดูดซึมน้ำ 6.23% ตามลำดับ การปรับปรุงดินซีเมนต์ผสมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ (ดินลูกรัง : ปูนซีเมนต์ : น้ำ) ในอัตราส่วน 5 : 2 : 1 และปริมาณน้ำยางพารา 7.5% ของน้ำที่ใช้ผสมดินซีเมนต์ ให้ค่าคุณสมบัติด้านวิศวกรรมดีที่สุด ดังนั้นจึงนำผลการวิจัยในระดับห้องปฏิบัติการไปทดสอบการใช้งานภาคสนามโดยการก่อสร้างสระน้าดินซีเมนต์ผสมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ ร่วมกับเกษตรกรในพื้นที่และหลังจากก่อสร้างสระน้ำแล้วเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากสระน้ำในช่วงช่วงฤดูแล้งได้

คำสำคัญ: คุณสมบัติทางกลดินซีเมนต์, น้ำยางพารา, น้ำยางพรีวัลคาไนซ์, สระน้ำ


ABSTRACT

This paper presents the results of strengthening of reinforced concrete structural members with carbon fiber reinforced polymers (CFRP) for building has had Live Load by designer has designed from lacking control. Strengthening structure to support load weight according to requirement has been important. To evaluate the capacity of structures must have investigate data concern physical properties, structural details, structural material, non – destructive test, semi destructive test and analysis of stability for Building structures. From studying, it found structure strengthening system by CFRP system has become an appropriate choice for the current structural strengthening and CFRP has been able to increase efficiency in straightening structure well. For installing the CFRP system must be carried out by proficiently by specialists who understand the procedures. In addition, from strengthening structure, building should have had Live Load administration and management in building according to designer specifies after strengthening for safety in long term.

Keywords: Straightening, Carbon Fiber Reinforced Polymers (CFRP), Reinforced Concrete Structure, Non – Destructive Test, Semi Destructive Test.


ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง|Application of Rubber Latex and Soil Cement Develop Drought Relieving Water Pond

Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 322
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print