การประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทานสำหรับใช้สอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัมมาตรฐาน

Last modified: April 1, 2022
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: การประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทานสำหรับใช้สอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัมมาตรฐาน
Research Article: Nonlinearity Assessment of Resistance Thermometry Bridges used for the Calibration of Standard Platinum Resistance Thermometer
ผู้เขียน/Author: จรวยรัตน์ เหย่ากุลบดี และ สุทธิเกียรติ ชลลาภ | Charuayrath Yaokulbordee & Suthikeart Chollalarp
Email: suthikeart.cho@siam.edu
สาขาวิชา/คณะ: สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department/Faculty: Faculty of Engineering in Electrical, Siam University, Bangkok 10160
Published/แหล่งเผยแพร่: การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ คร้ังที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม วันที่ 25-28 กรกฎาคม พ.ศ.2560 | 9th ECTI-CARD 2017, Chiang Khan Thailand

การอ้างอิง|Citation

จรวยรัตน์ เหย่ากุลบดี และ สุทธิเกียรติ ชลลาภ. (2560). การประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทานสำหรับใช้สอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัมมาตรฐาน. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ คร้ังที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองท้องถิ่นและภาคอุตสาหกรรม (หน้า 617-620). กรุงเทพฯ: สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และสารสนเทศแห่งประเทศไทย.

Yaokulbordee C., & Chollalarp S. (2017). Nonlinearity assessment of resistance thermometry bridges used for the calibration of standard platinum resistance thermometer In 9th ECTI-CARD 2017 (pp. 617-620). Bangkok: Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology Association of Thailand (ECTI Thailand).


บทคัดย่อ

เทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทานเป็นเครื่องมือหลักที่ใช้สาหรับการการสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัมมาตรฐานของสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ การประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ทำให้สะดวกในการประเมินค่าความไม่แน่นอน ในการวัดในส่วนของค่าความไม่แน่นอนที่เกิดจากเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์สาหรับการสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานในการศึกษานี้ เป็นการประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทาน (ASL, model F18) การประเมินค่านี้ใช้เครื่องสอบเทียบบริดจ์ชนิดความต้านทาน (Resistance Bridge Calibrator) เครื่องมือสอบเทียบนี้ประกอบด้วยความต้านทาน 4 ตัว และเมื่อนามาต่อขนานและอนุกรมกัน สามารถวัดค่าได้จานวน 35 ค่า ซึ่งจะนามาใช้ในการคานวณค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของบริดจ์ ในการประเมินค่าความไม่แน่นอนที่ได้จากการวัดจริง ผลการวัดเท่ากับ 0.028 ppm ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับสถาบันมาตรวิทยาประเทศอื่น เช่น สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ผลที่ได้มีค่ามากกว่าค่าที่บริษัทผู้ผลิตได้ระบุไว้คือ + 0.01 ppm อาจเนื่องจากปัจจัยภายนอก เช่น อุณหภูมิขณะทาการวัด

คำสำคัญ: เทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทาน, เครื่องสอบเทียบบริดจ์ชนิดความต้านทาน, ค่าความไม่เป็นเชิงเส้น


ABSTRACT

Resistance thermometry bridges are the principal instruments used by National Institute of Metrology (Thailand) Nonlinearity Assessments of the resistance thermometry bridges facilitate estimation of the uncertainties from the resistance measurement.

In this work, to accurately evaluate the nonlinearity of the resistance thermometry bridge (ASL, model F18) at NIMT was assessed. The Resistance Bridge Calibrator (RBC) consist of four resistors of different resistances can produce 35 distinct resistance values, by series and parallel combinations of these resistors. The linearity of manufacturer’s specification for resistance thermometry bridge ASL model F18 is < +0.01 ppm. The behavior of the bridge in terms of nonlinearity was investigated. The result is 0.028 ppm show that the linearity is closed to National Institute of Standards and Technology (NIST), USA but higher than manufacturer’s specification.

Keywords: Nonlinearity, Standard Platinum Resistance Thermometer, Resistance Thermometry Bridge.


การประเมินค่าความไม่เป็นเชิงเส้นของเทอร์โมมิเตอร์บริดจ์ความต้านทานสำหรับใช้สอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัมมาตรฐาน | Design and Construction of Liquid Mixer Machine Controlled by Microcontroller

Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand

Related

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 97
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code