- KB Home
- หลักสูตรปริญญาตรี|Bachelor Degree
- คณะวิศวกรรมศาสตร์
- -สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
- การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร
ชื่อโครงงาน: Project Title: |
การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร Slab and Conventional Concrete Slab from an Existing 5-Floor Apartment Construction Project in Samutsakorn |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นายอินทราชัย สิมะพิเชฐ Mr. Intrachai Simpichet |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไตรทศ ขำสุวรรณ Asst. Prof. Trithos Kumsuwan, Ph.D. Eng |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering |
ภาควิชา: Major: |
วิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน Civil Environment and Sustainable Engineering |
คณะ: Faculty: |
วิศวกรรมศาสตร์ Engineering |
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา: Semester / Academic year: |
3/2561 3/2018 |
การอ้างอิง/citation
อินทราชัย สิมะพิเชฐ. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
บทคัดย่อ
สำหรับการพัฒนาโครงการในที่ดิน 4 ไร่ จ.สมุทรสาคร โดยวางแผนออกแบบในการก่อสร้างอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จำนวน 110 ห้อง เนื่องจากต้นทุนค่าก่อสร้างเป็นต้นทุนแปรผันสำคัญ และปัจจุบันเทคโนโลยีวิธีการในการก่อสร้างสามารถลดต้นทุน และเวลาซึ่งจะมีผลต่อต้นทุนโดยตรง การศึกษานี้จึงทำการเปรียบเทียบการก่อสร้างแบบ ระบบพื้น คานคอนกรีตเสริมเหล็ก แผ่นพื้นสำเร็จรูป หรือ ระบบ Conventional Method กับระบบพื้น Post Tension ในด้านต้นทุนค่าก่อสร้างและเวลาที่ใช้ในการก่อสร้าง รวมถึงประโยชน์ ข้อดี ข้อเสีย และ ความเหมาะสมในการเลือกใช้ในแต่ละวิธี โดยมีการออกแบบทั้งสองวิธีการและประมาณราคาและเวลา รวมถึงปัญหาที่พบภายหลั
จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า ระบบพื้น Post Tension มีต้นทุนการก่อสร้างต่า กว่าอย่างมีนัยสำคัญประมาณ 12% และใช้เวลาในการก่อสร้างน้อยกว่าประมาณ 45% ทำให้สามารถส่งมอบอาคารตามกำหนดเวลาได้
Abstract
For developing a project on 4-Rai land in Samutsakon Province, the study shows the design of a 5-floor low cost apartment with 110 residential unit. The important factors that affect the overall cost are construction cost and time. Nowadays construction technologies develop fast that are able to reduce cost and time, which are direct costs of the project. This study shows the comparison between Reinforcement Concrete Floor Slab, Conventional Method, and Post Tension Floor Slab in aspects of cost and time, including advantages, disadvantages, and appropriation of each method. The study also shows the direct cost estimation by designing both methods and also shows problems found after project completion.
By a comparison study, Post Tension Floor Slab Method was 12% lower in construction cost and also saved 45% in construction time, Therefore, the project building could be commissioned on time.
Keywords: reinforcement concrete floor slab, conventional method, post tension floor slab.
การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional | Slab and Conventional Concrete Slab from an Existing 5-Floor Apartment Construction Project in Samutsakorn
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand