ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อตลาดน้ำลัดมะยม

Last modified: January 23, 2020
You are here:
Estimated reading time: 1 min
หัวข้อสารนิพนธ์:
Project Title:
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อตลาดน้ำลัดมะยม
The satisfaction of tourist toward Radmayom floating market
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นายทวิช เติมธนาภรณ์
Ms. Natthida Laohawanthana
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรัสวดี ราชกุลชัย
Asst Prof. Dr. Surasvadee Rajkulchai
ระดับการศึกษา:
Degree:
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)
Master of Business Administration
สาขาวิชา:
Major:
การจัดการทั่วไป
General Management
คณะ:
Faculty:
บัณฑิตวิทยาลัย
Graduate Schools
ปีการศึกษา:
Academic year:
2561
2018

การอ้างอิง/citation

ทวิช เติมธนาภรณ์. (2561). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อตลาดน้ำลัดมะยม. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุสถานภาพ การศึกษา อาชีพ และรายได้ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยทางด้านส่วนประสมทางการตลาดบริการ กลุ่มตัวอย่างคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งได้เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำลัดมะยม จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ศึกษา คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์เแปรปรวน (ANOVA) สรุปได้ดังนี้

นักท่องเที่ยวชาวไทยเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 35-44 ปี สถานภาพสมรส ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนมีรายได้ต่อเดือน20,000-30,000 บาท นักท่องเที่ยวชาวไทยมีความพึงพอใจมากกว่าที่สุดในด้านลักษณะทางกายภาพรองมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านราคาและด้านกระบวนการให้บริการ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจตลาดน้ำลัดมะยมแตกต่างกัน

 

คำสำคัญ : ตลาดน้้าลัดมะยม, ปัจจัยส่วนบุคคล, นักท่องเที่ยวชาวไทย, ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย


Abstract

This research examines management and marketing factors affecting the study decision at tutorial school by using questionnaires from students from the four universities in Nakhon Pathom, namely Kasetsart University ,Silpakorn University, Mahidol Salaya University ,And Rajabhat University Nakhon Pathom. 400 respondents were studied by using One-sample T-test, One Way Anova and Regression. The results of the research showed that management factors had effected the study decision more than marketing, especially in increasing skills, the ability of the instructor, creating an organizational structure, strategy formulation, and creating common values and the tuition fee waiver for students. However, marketing factors are still effective and supportive of decision making in learning about social activities.

 

Keywords: Satisfaction, Thai tourists, Khlong Lat Mayom Floating Market.


ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อตลาดน้ำลัดมะยม

Master in Business Administration (MBA), Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 662
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code