การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท

Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท
Research Article: Wine Production from Pineapple Mixed with Carrot
ผู้เขียน|Author: อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ สุนันทิดา สิงหพล | Ampun Chaikulsareewath and Sunanthida Singhapol
Email: ampun.cha@siam.edu
สาขาวิชา|คณะ: ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department|Faculty Department of Food Technology, Faculty of Science,  Siam University, Bangkok 10160
Published|แหล่งเผยแพร่ วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2559 หน้า 165-169 | Agricultural Science Journal Vol. 47 No.2 (Suppl.) May-August 2016 p. 165-169

การอ้างอิง|Citation

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ สุนันทิดา สิงหพล. (2559). การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 47(2)(พิเศษ), 165-169.

Chaikulsareewath, A., & Singhapol, S. (2016). Wine production from pineapple mixed with carrot. Agricultural Science Journal, 47(2) (Suppl.), 165-169.


บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท เริ่มจากการศึกษาอัตราส่วนของน้าสับปะรดต่อน้าที่อัตราส่วน 1:1 1:3 และ 1:5 (โดยปริมาตร) พบว่าอัตราส่วน 1:1 มีปริมาณแอลกอฮอล์สูงสุดเท่ากับร้อยละ 15.40±0.20 (โดยปริมาตร) ในวันที่ 20 ของการหมัก จากนั้นทดสอบทางประสาทสัมผัสพบว่าไวน์ทั้ง 3 อัตราส่วน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อศึกษาอัตราส่วนน้าแครอทต่อน้า 1:3 1:5 และ 1:7 (โดยปริมาตร) พบว่าที่อัตราส่วน 1:3 มีปริมาณแอลกอฮอล์สูงสุดเท่ากับร้อยละ 12.30±0.30 (โดยปริมาตร) ในวันที่ 20 ของการหมัก และไม่พบว่าไวน์ทั้ง 3 อัตราส่วนแตกต่างกันเมื่อทดสอบทางประสาทสัมผัส เมื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน้าสับปะรดคั้นต่อน้า (1:1) และน้าแครอทคั้นต่อน้า (1:3) ต่อการหมักไวน์ ใช้อัตราส่วน 2:1 1:1 และ 1:2 (โดยปริมาตร) พบว่าไวน์ที่ใช้อัตราส่วน 2:1 มีปริมาณแอลกอฮอล์สูงสุด เท่ากับร้อยละ 13.70±0.30 (โดยปริมาตร) ในวันที่ 20 ของการหมัก พบว่าทั้ง 3 อัตราส่วน มีคะแนนด้านกลิ่นและความชอบโดยรวม ไม่แตกต่างทางสถิติ ส่วนลักษณะปรากฏ รสชาติ และสิ่งตกค้างในปาก พบว่าอัตราส่วน 2:1 ได้รับคะแนนการยอมรับสูงที่สุด (P≤0.05)

คำสำคัญ: ไวน์, สับปะรด, แครอท


ABSTRACT

This study was investigated the mixed pineapple-carrot wine product. Pineapple juice and water were mixed at 1:1, 1:3 and 1:5 (by volume). Result showed that mixed volume at ratio 1:1 obtained the highest alcohol (15.40±0.20% by volume) at day 20, with no significant difference of sensory evaluation. Carrot juice and water was then varied at 1:3, 1:5 and 1:7 (by volume). The mixed ratio at 1:3 obtained the highest alcohol (12.30±0.30% by volume) at fermentation day 20th, and taste was not significantly different. When pineapple juice:water (1:1) and carrot juice:water (1:3) was fermented at ratio of 2:1, 1:1 and 1:2 (by volume). The mixed volume at ratio 2:1 obtained the highest alcohol (13.70±0.30% by volume) on day 20. However, aroma and overall of all ratios were not significantly different which the ratio 2:1 had the highest appearance, taste and aftertaste scores (p≤0.05).

Keywords: wine, pineapple, carrot.


การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท|Wine Production from Pineapple Mixed with Carrot

Faculty of Science, Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 915
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code