Tags: ฐานข้อมูล TCI 1
ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์

Factors Associated with Irrational Antibiotic Use Behaviour among Social Media Users in Thailand. 2566 (2023). ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์. บทความ (Paper). Advisor: อ. ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – Mr. Shinnawat Saengungsumalee. วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care. Bangkok: Siam University

การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

อาจารย์นฤมล อังศิริศักดิ์ – Miss Naruemol Angsirisak2566 (2023). การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต – A Follow up study of the development of nurse educators for rational drug use instruction in the Bachelor of Nursing Science Program. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). Bangkok: Siam University

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

รัฐกานต์ ขำเขียว, ศนิกานต์ ศรีมณี และศิรินา สันทัดงาน. 2566 (2023). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร – Factors Predicting the Participatory Health Management in Klong Phasi Charoen Waterfront Community. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2566 – Journal of Health and Health Management Vol. 9 No. 2 July-December 2023

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, วิภานันท์ ม่วงสกุล, สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร, มธุรส ทิพยมงคลกุล และภาศิษฏา อ่อนดี. 2566 (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล – Association between Personal Factors, Beliefs, and Attitudes towards E-cigarettes and Cigarettes Use among Thai Youths in Central Region, Bangkok and its Perimeter. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). วารสารแพทย์นาวี ปีที่ 50 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566 หน้า 579-594 – Royal Thai Navy Medical Journal, Volume 50 No.3 September-December 2023 pp.579-594

ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง

ทักษิณ จันทร์สิงห์, ปุณยวีร์ พืชสะกะ และภาสุนัน ดำรงค์คงชัย. (2566). ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2566) หน้า 409 – 421.

การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล

พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ, วิญญู ชะนะกุล, จันทร์เจ้า มงคลนาวิน, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา, พรยุพา เตียงพัฒนะวงษ์ และอนุสรา เครือนวล. (2566). การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(2), 523 – 535.

ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, มัทวัน ศรีอินทร์คำ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย. (2566). ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 28(3), 1424-1444.

การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน

ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี, ยุพดี ศิริสินสุข และอนุชัย ธีระเรืองไชยศร. (2566). การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 5(2), 306 – 326.

ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตามหลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร

เสถียร พูลผล, ณัฐธิดา วุฒิโสภากร, พันธ์วิรา ชาติสมพงษ์, ภัครินทร์ พณิชย์อมรกุล. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตาม หลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(3), 741-749.

การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2566). การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน. วารสารศิลปการจัดการ, 7(2), 381 – 401.

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

ขวัญเรือน กําวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 7(2), 196-211.

การปรับขนาดยารักษาโรคติดเชื้อ coronavirus disease 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่องและได้รับการบำบัดทดแทนไต

ธนิยา เจริญเสรีรัตน์ และ วีรชัย ไชยจามร. (2564). การปรับขนาดยารักษาโรคติดเชื้อ coronavirus disease 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่องและได้รับการบำบัดทดแทนไต. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 31(3), 278-291.

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

นฤมล อังศิริศักดิ์. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.

สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น

สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร. (2564). สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 35(2), 171-187.

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้ง และวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

อนุสรา เครือนวล, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, พลภัทร์ โล่เสถียรกิจ, สุทธา สุปัญญา, พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ และ พินทุสร กลับคุณ. (2564). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้งและวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 29(2), 177-88.

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 37(3).

Magnetic Field Effect on Physicochemical Properties of Water

Pornchai Premkaisorn and Wanpen Wasupongpun (2020). Magnetic Field Effect on Physicochemical Properties of Water. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(2), 1-17.