Tags: รายงานการประชุมวิชาการ ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร
การศึกษาแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำหมักผักสะทอน:การจัดจำแนกเบื้องต้นแบคทีเรียกรดแลคติก

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ญาณิน ทับทิม,  จิตตรานนท์ เสือโต, อธิษฐาน เจริญพร และกาญจนา มหัทธนทวี. (2566). การศึกษาแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำหมักผักสะทอน:การจัดจำแนกเบื้องต้นแบคทีเรียกรดแลคติก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 9 (หน้า 359-366). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ผลของการดัดแปรต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชกล้วยหินดิบ

จิรนาถ บุญคง, ปิยนุสร์ น้อยด้วง และจิตตราภรณ์ แมงทับ. (2566). ผลของการดัดแปรต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชกล้วยหินดิบ. ใน รายงานการประชุม การประชุมระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 9 (หน้า 345-352). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อน ในน้ำปลาโซเดียมต่ำ

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และณฐมล จินดาพรรณ. (2564). ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อนในน้ำปลาโซเดียมต่ำ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (265-274)

การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดเพคตินจากเปลือกมะกรูดร่วมกับกรดซิตริก

จิรนาถ บุญคง, และปิยนุสร์ น้อยด้วง. (2564). การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดเพคตินจากเปลือกมะกรูดร่วมกับกรดซิตริก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (512-520)

การใช้โปรตีนรำข้าวหอมมะลิเป็นสารให้โฟมในผลิตภัณฑ์ชิฟฟ่อนเค้ก

ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ จิรนาถ บุญคง. (2564). การใช้โปรตีนรำข้าวหอมมะลิเป็นสารให้โฟมในผลิตภัณฑ์ชิฟฟ่อนเค้ก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (521-528). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ผลของโซเดียมคลอไรด์และซูโครสต่อการเกิดโฟมและการเกิดอิมัลชันของโปรตีนรำข้าวหอมมะลิ

อารีรัตน์  หนูวัฒนา ธนาภรณ์  วงศ์สาแก้ว  ขวัญฤทัย กิ่วไธสง  และ จิรนาถ  บุญคง. (2562). ผลของโซเดียมคลอไรด์และซูโครสต่อการเกิดโฟมและการเกิดอิมัลชันของโปรตีนรำข้าวหอมมะลิ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 98-106). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

อิทธิผลของสารละลายเกลือแคลเซียมและเทคนิคซูวีดต่อคุณลักษณะของแครอทพร้อมบริโภคในระหว่างการเก็บรักษา

ณัฏฐิกา ศิลาลาย, ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, สุปรียา พรประไพ และ กันติกา เจิมกระแจะ. (2561). อิทธิผลของสารละลายเกลือแคลเซียมและเทคนิคซูวีดต่อคุณลักษณะของแครอทพร้อมบริโภคในระหว่างการเก็บรักษา. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 178-189). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลคติกจากน้ำพริกไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย

นิศารัตน์ สุขาบูรณ์ จิตตรานนท์ เสือโต และ อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์. (2562). การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลคติกจากน้าพริกไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 142-149). อาคารพิฆเนศ ที่: มหาวิทยาลัยรังสิต.

การใช้เพคตินจากเปลือกมะกรูดเป็นสารให้ความคงตัวในการผลิตไอศกรีมจากน้ำมะกรูด

ทิพย์ธิดา  หนูทรัพย์, ภัสราภรณ์  ขาวพุ่ม, อมรรัตน์  จันทร์แม้น และปิยนุสร์  น้อยด้วง. (2562). การใช้เพคตินจากเปลือกมะกรูดเป็นสารให้ความคงตัวในการผลิตไอศกรีมจากน้ำมะกรูด. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 163-171). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

ผลของสภาวะกรดและด่างต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพ และสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนรำข้าว

พัชรพร พิพัฒนสัตยาวงศ์, จิรนาถ บุญคง, ภิญโญ แซ่เฮ้ง และ นัชชา หงษ์สา. (2561).  ผลของสภาวะกรดและด่างต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพ และสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนรำข้าว. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 (หน้า AS 241-AS 246). สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

คุณสมบัติและประสิทธิภาพของเพคตินจากเปลือกมะกรูดที่สกัดด้วยกรดซิตริก

ทิพย์ธิดา หนูทรัพย์, ภัสราภรณ์ ขาวพุ่ม, จิตติประภา พรมดี และ ปิยนุสร์ น้อยด้วง. (2561). คุณสมบัติและประสิทธิภาพของเพคตินจากเปลือกมะกรูดที่สกัดด้วยกรดซิตริก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 (หน้า AS 241-AS 246). สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.