Topics: -สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
ต้มยำนํ้าข้นบรรจุกระป๋อง

สุทธินี สมัครดี และ สุปรียา พรประไพ. (2559). ต้มยำนํ้าข้นบรรจุกระป๋อง. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การวิเคราะห์จุดปนเปื้อนเชื้อราและยีสต์ในกระบวนการผลิตวุ้นเส้น

อริษฐา สระบัว. (2559). การวิเคราะห์จุดปนเปื้อนเชื้อราและยีสต์ในกระบวนการผลิตวุ้นเส้น. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษาลักษณะการเกิดของเสียจากสินค้าที่ผ่านกระบวนการพาสเจอไรซ์

นัชชา หงษ์สา. (2559). การศึกษาลักษณะการเกิดของเสียจากสินค้าที่ผ่านกระบวนการพาสเจอไรซ์. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

ศึกษากระบวนการผลิตและตรวจสอบคุณภาพน้ำเต้าหู้

นิศารัตน์ สุขาบูรณ์ และ กันติกา เจิมกระแจะ. (2559). ศึกษากระบวนการผลิตและตรวจสอบคุณภาพน้ำเต้าหู้. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

กรรมวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการละลายครีมเทียมผงจากแป้งข้าวด้วยวิธีการทำแห้งแบบลูกกลิ้ง

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, ณัฏฐิกา ศิลาลาย, ธนากรณ์ เชื้อวงษ์ดี และ ชลธิรา สารวงษ์. (2563). กรรมวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการละลายครีมเทียมผงจากแป้งข้าวด้วยวิธีการทำแห้งแบบลูกกลิ้ง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28(1), 73-85.

ผลของคาร์บอกซีเมทลิเซลลูโลสต่อสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งผสมและคุณสมบัติของเส้นก๋วยเตี๋ยว

ณัฏฐิกา ศิลาลาย, ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, สุภัค โตเจริญทรัพย์ และ ชลธิรา สารวงษ์. (2562). ผลของคาร์บอกซีเมทลิเซลลูโลสต่อสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งผสมและคุณสมบัติของเส้นก๋วยเตี๋ยว. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 24(3), 1029-1042.

ผลของโซเดียมคลอไรด์และซูโครสต่อการเกิดโฟมและการเกิดอิมัลชันของโปรตีนรำข้าวหอมมะลิ

อารีรัตน์ หนูวัฒนา ธนาภรณ์ วงศ์สาแก้ว ขวัญฤทัย กิ่วไธสง และ จิรนาถ บุญคง. (2562). ผลของโซเดียมคลอไรด์และซูโครสต่อการเกิดโฟมและการเกิดอิมัลชันของโปรตีนรำข้าวหอมมะลิ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 98-106). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

อิทธิผลของสารละลายเกลือแคลเซียมและเทคนิคซูวีดต่อคุณลักษณะของแครอทพร้อมบริโภคในระหว่างการเก็บรักษา

ณัฏฐิกา ศิลาลาย, ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, สุปรียา พรประไพ และ กันติกา เจิมกระแจะ. (2561). อิทธิผลของสารละลายเกลือแคลเซียมและเทคนิคซูวีดต่อคุณลักษณะของแครอทพร้อมบริโภคในระหว่างการเก็บรักษา. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 178-189). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลคติกจากน้ำพริกไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย

นิศารัตน์ สุขาบูรณ์ จิตตรานนท์ เสือโต และ อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์. (2562). การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลคติกจากน้าพริกไทยในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 142-149). อาคารพิฆเนศ ที่: มหาวิทยาลัยรังสิต.

การใช้เพคตินจากเปลือกมะกรูดเป็นสารให้ความคงตัวในการผลิตไอศกรีมจากน้ำมะกรูด

ทิพย์ธิดา หนูทรัพย์, ภัสราภรณ์ ขาวพุ่ม, อมรรัตน์ จันทร์แม้น และปิยนุสร์ น้อยด้วง. (2562). การใช้เพคตินจากเปลือกมะกรูดเป็นสารให้ความคงตัวในการผลิตไอศกรีมจากน้ำมะกรูด. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 (หน้า 163-171). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

Influences of Superheated Steam Roasting and Water Activity Control as Oxidation Mitigation Methods on Physicochemical Properties, Lipid Oxidation, and Free Fatty Acids Compositions of Roasted Rice (SCOPUS)

Yodkaewa P., Chindapanb N., & Devahastin S. (2019). Influences of superheated steam roasting and water activity control as oxidation mitigation methods on physicochemical properties, lipid oxidation, and free fatty acids compositions of roasted rice. Journal of Food Science, 84(2), 292-302.

การใช้แป้งข้าวฟ่างแทนเซโมลินาบางส่วนเพื่อใช้ในการผลิตพาสต้า

จิรนาถ บุญคง และ สุกัญญา ส่งแสง. (2559). การใช้แป้งข้าวฟ่างแทนเซโมลินาบางส่วนเพื่อใช้ในการผลิตพาสต้า. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 47(2)(พิเศษ), 281-284.

การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ สุนันทิดา สิงหพล. (2559). การผลิตไวน์สับปะรดผสมแครอท. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 47(2)(พิเศษ), 165-169.

การผลิตเฟรนช์ฟรายจากมันสำปะหลังเสริมคุณค่าทางอาหารจากงา

ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ ยุพิน บุญภา. (2559). การผลิตเฟรนช์ฟรายจากมันสำปะหลังเสริมคุณค่าทางอาหารจากงา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 47(2)(พิเศษ), 237-240.

ผลของกระบวนการทำแห้งต่อสมบัติทางเคมีกายภาพของครีมเทียมไขมันต่ำจากแป้งข้าว

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, ณัฏฐิกา ศิลาลาย, กมลพร ฉายสุริยะ และ ชลธิรา สารวงษ์. (2560). ผลของกระบวนการทาแห้งต่อสมบัติทางเคมีกายภาพของครีมเทียมไขมันต่ำจากแป้งข้าว. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 22(2), 155-168.

Compairison of Aroma Character lmpact Volatiles of thummong Leaves (Litea petiolata Hook. f.),Mangdana Water Beetle (Lethocerus indicus), and a commercial Product as Flavoring Agents in thai Traditional Cooking (SCOPUS)

Mahattanatawee, K. (2017). Comparison of aroma character impact volatiles of Thummong leaves (Litsea petiolata Hook. f.), Mangdana water beetle (Lethocerus indicus), and a commercial product as flavoring agents in Thai traditional cooking. Journal of Agricultural and Food Chemistry, 66(10), 2480–2484.

การใช้ผงเมือกจากเมล็ดแมงลักเป็นพรีไบโอติกในการผลิตไอศกรีมโยเกิร์ต

ปิยนุสร์ น้อยด้วง, อารีรัตน์ อิฏฐกรพันธ์ และ วศินี มฤคทัต. (2561). การใช้ผงเมือกจากเมล็ดแมงลักเป็นพรีไบโอติกในการผลิตไอศกรีมโยเกิร์ต. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(2)(พิเศษ), 641-644.

ผลของระยะเวลาในการย่อยต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพและสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนไฮโดรไลเซตจากปลาดาบเงิน

จิรนาถ บุญคง และ การันต์ พุกชัยวาณิชย์. (2561). ผลของระยะเวลาในการย่อยต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพและสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนไฮโดรไลเซตจากปลาดาบเงิน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(2)(พิเศษ), 473-476.