- KB Home
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา|Graduate Schools
- หลักสูตรปริญญาโท|Masters Degree
- M.Ed.
- การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้
- 1. การอ้างอิง|Citation
- 2. บทคัดย่อ
- 3. Abstract
- 4. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ | Activation Strategy in Human Resource Capacity Development of Vocational Education According to the Needs of Country Development under Vocational Education Development Plan (2017 – 2036) of Institutes of Vocational Education in the Southern Region
- 5. Related:
หัวข้อวิทยานิพนธ์: Project Title: |
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ Activation Strategy in Human Resource Capacity Development of Vocational Education According to the Needs of Country Development under Vocational Education Development Plan (2017 – 2036) of Institutes of Vocational Education in the Southern Region |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นางสาววิไลรัตน์ เพ็ชรหึง Miss Wilairat Pethung |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ดร.นลินี สุดเศวต Nalinee Sutsavade., Ph.D |
ระดับการศึกษา: Degree: |
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) Master of Education |
สาขาวิชา: Major: |
การบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา Educational Administration and Leadership |
คณะ: Faculty: |
บัณฑิตวิทยาลัย Graduate Schools |
ปีการศึกษา: Academic year: |
2562 2019 |
การอ้างอิง|Citation
วิไลรัตน์ เพ็ชรหึง. (2562). การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ . (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
Pethung W. (2019). Activation strategy in human resource capacity development of vocational education according to the needs of country development under vocational education development plan (2017 – 2036) of Institutes of Vocational Education in the Southern Region. (Master’s thesis). Bangkok: Graduate Schools, Siam University.
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 2. เปรียบเทียบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตามข้อมูลขนาดของสถานศึกษา และ 3.ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มประชากร คือ ผู้บริหารและครู สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance หรือ ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า
- การขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 พบว่า มีการขับเคลื่อนตามแผนงานและโครงการอยู่ในระดับมาก
- เปรียบเทียบการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามขนาดของสถานศึกษาที่แตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสถานศึกษาขนาดเล็กมีการขับเคลื่อนตามแผนงานและโครงการมากกว่าสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่
- ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ส่วนใหญ่คือ การพัฒนาครู การจัดสรรงบประมาณ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระบบการติดตามและประเมินผล
คำสำคัญ: แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา, การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์, สถาบันอาชีวศึกษา
Abstract
Purposes of the study were: 1. to provide an activation strategy of human resource capacity development in vocational education according to the needs of country development under vocational education development plan (2017 – 2036) of institutes of vocational education: Southern 2) to compare the activation strategy regarding the information and the size of institutions; 3) to determine problems, obstacles, and recommendations for the activation strategy.
This study was quantitative research. The sample population were administrators, teachers, and colleges of vocational education institutes in the Southern region. Percentile, Mean, standard deviation (S.D.), and analysis of variance (ANOVA) were applied for statistics.
The results found that activation in strategy, regarding human resource capacity development of vocational education according to the needs of country development under vocational education development plan (2017 – 2036), was at a high level. Comparison of activation strategy regarding human resource capacity development of vocational education according to the needs of country development between the size of institutes found a different statistical significant at 0.05. Small institutes activated strategy and projects, higher than medium and large institutes. Problems, obstacles, and recommendations for activation strategy regarding human resource capacity development in vocational education according to the needs of country development mostly found in teacher development, budget allocation, networking and co-operation, monitoring and evaluation system.
Keywords: Vocational education development plan, Activation strategy, Vocational education institute.
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579 ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ | Activation Strategy in Human Resource Capacity Development of Vocational Education According to the Needs of Country Development under Vocational Education Development Plan (2017 – 2036) of Institutes of Vocational Education in the Southern Region
Master of Education in Educational Administration and Leadership, Siam University, Bangkok, Thailand
Related:
- สมรรถนะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการสู่ความเป็นเลิศมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ
- การมีส่วนร่วมในการบริหารกับความยึดมั่นผูกพันกับองค์การ ของครูในสถาบันการอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร
- ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามความคิดเห็นของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยกรรมของโรงเรียนอาชีวศึกษา
- การศึกษาการบริหารงานวิชาการ: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านขุนประเทศ เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
- การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร
- การศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมในงานวิชาการของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 2
- ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดนนทบุรี
- การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย
- การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพของวิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมและสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
- การศึกษาการบริหารงานวิชาการและการบริการของฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล