การค้นพบและตรวจสอบความสอดคล้องของกระบวนการผลิตเสื้อผ้าเด็ก

Last modified: October 20, 2022
You are here:
Estimated reading time: 1 min
หัวข้อสารนิพนธ์:
Project Title:
การค้นพบและตรวจสอบความสอดคล้องของกระบวนการผลิตเสื้อผ้าเด็ก
Children’s Garment Production Process Discovery and Conformance Checking
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นายชนะ สถิตเจริญเมือง
Mr. Chana Satitcharoenmuang
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์
Prof. Dr. Wichian Premchaiswadi
ระดับการศึกษา:
Degree:
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
Master of Science (Ms.IT)
สาขาวิชา:
Major:
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology
คณะ:
Faculty:
บัณฑิตวิทยาลัย
Graduate Schools
ปีการศึกษา:
Academic year:
2563
2020
URL:
Published แหล่งเผยแพร่ผลงาน
แหล่งเผยแพร่ผลงาน
IEEE ICT & Knowledge Engineering 2017 Conference, November 22-24, 2017, Siam University, Bangkok, Thailand

การอ้างอิง|Citation

ชนะ สถิตเจริญเมือง. (2563). การค้นพบและตรวจสอบความสอดคล้องของกระบวนการผลิตเสื้อผ้าเด็ก. (การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.

Satitcharoenmuang C. (2020). Children’s garment production process discovery and conformance checking. (Master’s independent study). Bangkok: Graduate Schools, Siam University.


บทคัดย่อ

สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษากระบวนการทำงานของโรงงานผลิตเสื้อผ้าเด็กแห่งหนึ่งที่เกิดปัญหาการส่งสินค้าที่ล่าช้า โดยบางปัญหาไม่สามารถค้นหาสาเหตุที่แท้จริงได้ ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการบันทึกการทำงานที่เกิดขึ้นจากโปรแกรมสารสนเทศที่ใช้งานอยู่นำมาประมวลผลโดยใช้ Alpha algorithms ในการค้นหาเส้นทางการทำงานที่เกิดขึ้นจากการทำงาน และ การตรวจสอบความสอดคล้องเพื่อดำเนินการตรวจสอบขั้นตอนการทำงานที่ผิดพลาดและช่วงเวลาที่สูญเปล่า เพื่อใช้ในการค้นหาต้นตอของปัญหาที่เกิดขึ้นและเมื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ ในบางรายการผลิตสามารถลงขั้นตอนการการทำงานจากปกติ 21 ขั้นตอน เหลือน้อยที่สุดเพียง 17 ขั้นตอน

คำสำคัญ: เหมืองกระบวนการ, โรงงานผลิตเสื้อผ้าเด็ก, การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเวลา


Abstract

The main objective of this paper was to study the working processes of a Children Garment Factory in order to discover the roots of the problems, that lead to the delay in delivery of ordered products. For analysis, the Alpha algorithm (process mining) technique/algorithm and Fuzzy Miner technique/algorithm were applied on a set of data the was previously collected from the garment information system.  Both RapidMiner and Disco Fluxicon platforms were used to simulate the dependencies between the work processes of the garment factory in addition to analyzing the duration of the time gaps (delays) from one process activity to another. After investigation of the results and findings of the study, based on the above-mentioned techniques and platforms. After revising the structural workflow of the tasks, the redundant and unnecessary processes were eliminated, leading to the reduction of the number of the processed from 21 to 17, which could improve the efficiency and speed of the delivery time of garment products.

Keywords: Process Mining, Garment Information System, Time Performance Analysis, Fuzzy Miner, RapidMiner, Disco Fluxicon.


   การค้นพบและตรวจสอบความสอดคล้องของกระบวนการผลิตเสื้อผ้าเด็ก | Children’s Garment Production Process Discovery and Conformance Checking

Master of Science in Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand

Related by Advisor

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 84
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code