Last modified: September 30, 2022
You are here:
- KB Home
- หลักสูตรปริญญาตรี|Bachelor Degree
- คณะพยาบาลศาสตร์
- สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: | สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น |
Research Article: | Moodswings: The Challenge of Mental Health Problems and Prevention Among Adolescent |
ผู้เขียน/Author: | สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร | Suleemas Angsukaittitavorn |
Email: | suleemas.ang@siam.edu |
สาขาวิชา/คณะ: | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160 |
Department/Faculty | Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok 10160 |
Published/แหล่งเผยแพร่ | วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 | The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health Vol.35 No.2 May–August 2021 |
การอ้างอิง|Citation
สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร. (2564). สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 35(2), 171-187.
Angsukaittitavorn S. (2021). Moodswings: The challenge of mental health problems and prevention among adolescent. The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health, 35(2), 171-187.
บทคัดย่อ
ปัญหาสุขภาพจิต พฤติกรรม และโรคจิตเวชในวัยรุ่นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย จากการศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหาสุขภาพจิตพบสภาวะอารมณ์ไม่คงที่เป็นสัญญาณเตือนที่เกิดขึ้นก่อนการเกิดปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคจิตเวช บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ของสภาวะอารมณ์ไม่คงที่ซึ่งเป็นลักษณะที่พบตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช การตระหนักถึงสภาวะอารมณ์ไม่คงที่ ปัจจัยเชิงสัมพันธ์กับสภาวะอารมณ์ไม่คงที่ ซึ่งเป็นความท้าทายของพยาบาลจิตเวชในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้วยการประเมินสภาวะอารมณ์ไม่คงที่ในวัยรุ่น ช่วยเหลือดูแล การให้การแนะนำกับบิดามารดาในการเลี้ยงดูบุตรเพื่อป้องกันสภาวะอารมณ์ไม่คงที่ ด้วยแนวคิดความเข้าใจพัฒนาการทางอารมณ์ สัมพันธภาพในครอบครัว การจัดการอารมณ์ความรู้สึก โดยอาศัยพื้นฐานการสื่อสารเพื่อการบำบัด
คำสำคัญ: สภาวะอารมณ์ไม่คงที่, ปัญหาสุขภาพจิต, วัยรุ่น
ABSTRACT
Mental health problems, behavior problems and psychiatric problems in adolescents were increased around the world, including in Thailand. A retrospective study in psychiatric patients and people with mental health problems showed mood swings as early warning signs of a mental health problem or psychiatric disorder. The objective of this article was to present the concepts and the evidence-based in the mood swings which was a characteristic in mental health problems and psychiatric patients among adolescents. Consideration of mood swings and the factors associated, it is a challenge of psychiatric nurses to prevent mental health problems among adolescents by assessing mood swings in adolescents and taking care. Advising to parents in raising their child to prevent mood swings. Based on understand the concepts of emotional development, family relationship, and management of emotion, using therapeutic communication.
Keywords: mood swings, mental health problems, adolescent.
สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น|Moodswings: The Challenge of Mental Health Problems and Prevention Among Adolescent
Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand
Posted by: MBA
Tags: Academic Year 2021 Articles Articles 2021 Nursing Articles Nursing Articles 2021 TCI TCI 1 Thai Journal Citation Index-TCI 1 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health ฐานข้อมูล TCI 1 ดร.สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร - Dr. Suleemas Angsukaittitavorn บทความวิชาการ บทความวิชาการ 2564(Paper 2021) บทความวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ บทความวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ 2564 ปีการศึกษา 2564 วารสารกลุ่มที่ 1 วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย วารสารกลุ่มที่ 1
Views: 3549
Related articles
- ผลการสอนโดยใช้หลักการพัฒนาสมองเป็นฐานต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในการเรียนวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชของนักศึกษาพยาบาล
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้ง และวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
- ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท