Tags: บทความวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์
ประสิทธิผลของการใช้หลอดตวงลดโซเดียมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ผศ. ดร.ชนิดา มัททวางกูร – Asst. Prof. Dr. Chanida Mattavangkul, ดร.ณิชมล ขวัญเมือง – Dr. Nichamon Kwanmueang, อาจารย์ขวัญเรือน ก๋าวิตู – Miss Kwanruen Kawitu. 2566 (2023). The Effectiveness of Sodium Reductional Tube in Patients with Hypertension. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S.

ผลของโปรแกรมการพัฒนาการรับรู้ความสามารถตนเองต่อความรู้และทัศนคติ เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าของแกนนำนักศึกษาพยาบาล

อาจารย์สุกฤตา ตะการีย์ – Miss Sukrita Takaree. The effect of self-efficacy development program on knowledge and attitude about electronic cigarette of nursing student leaders . 2566 (2023). ผลของโปรแกรมการพัฒนาการรับรู้ความสามารถตนเองต่อความรู้และทัศนคติ เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าของแกนนำนักศึกษาพยาบาล . บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). Bangkok: Siam

การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

อาจารย์นฤมล อังศิริศักดิ์ – Miss Naruemol Angsirisak2566 (2023). การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต – A Follow up study of the development of nurse educators for rational drug use instruction in the Bachelor of Nursing Science Program. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). Bangkok: Siam

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

อาจารย์ขวัญเรือน ก๋าวิตู – Miss Kwanruen Kawitu, อาจารย์ชัยสิทธิ์ ทันศึก และอาจารย์ณรงค์ สุกใส คณะพยาบาลศาสตร์ (Nursing), 2566 (2023), วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ, Factors Influencing to Preventive Behaviors for Coronavirus Disease 2019 of Thai and Migrant Workers in Bang Sao Thong District, Samutprakarn Province.

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

รัฐกานต์ ขำเขียว, ศนิกานต์ ศรีมณี และศิรินา สันทัดงาน. 2566 (2023). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร – Factors Predicting the Participatory Health Management in Klong Phasi Charoen Waterfront Community. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2566 – Journal of

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, วิภานันท์ ม่วงสกุล, สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร, มธุรส ทิพยมงคลกุล และภาศิษฏา อ่อนดี. 2566 (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล – Association between Personal Factors, Beliefs, and Attitudes towards E-cigarettes and Cigarettes Use among Thai Youths in Central Region, Bangkok and its Perimeter. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing

ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, รัตนาภรณ์ นิวาศานนท์, กาญจนา งามจันทราทิพย์ และศิริพร สามสี. (2565). ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 73-88.

ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, อรทิพา ส่องศิริ, ธัญลักษณ์วดี ก้อนทองถม และธัญญลักษณ์ ดีชาติธนากุล. (2566). ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 24(46), 69-82.

พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม

วิภานันท์ ม่วงสกุล, ระชี ดิษฐจร, บัวทิพย์ เพ็งศรี และนิตยา วิโรจนะ. (2565). พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 99-111.

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

พิชาภรณ์ จันทนกุล, สมฤดี ชื่นกิติญานนท์, สุกฤตา ตะการีย์ และ ศิริพร สามสี. (2565). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 62-76.

อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน

รัชพร ศรีเดช และ ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์. (2564). อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 127-136.

การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์ และ รัชพร ศรีเดช. (2564). การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(42), 107-114.

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

ขวัญเรือน กําวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 7(2), 196-211.

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

นฤมล อังศิริศักดิ์. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.

สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น

สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร. (2564). สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 35(2), 171-187.

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ

ดวงกมล วิรุฬห์อุดมผล และ พรพิมล ภูมิฤทธิกุล. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(4), 87-99.

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 37(3).

ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้รับบริการต่อพฤติกรรมจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลอนามัยชุมชน ในหน่วยบริการปฐมภูมิ

วิภานันท์ ม่วงสกุล และ ชนิดา มัททวางกูร. (2563). ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้รับบริการต่อพฤติกรรมจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลอนามัยชุมชน ในหน่วยบริการปฐมภูมิ. วารสารแพทย์นาวี, 47(3), 576-593.

การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ศนิกานต์ ศรีมณี, ชนิดา มัททวางกูร, เพ็ญรุ่ง นวลแจ่ม. (2562). การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

ผลโปรแกรมการออกกำลังกายแบบผสมผสานกายและจิตสุข 5 มิติ ต่อระดับไขมันในเลือด เปอร์เซ็นต์ไขมันมวลกระดูก และความดันโลหิต ในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ผลโปรแกรมการออกกำลังกายแบบผสมผสานกายและจิตสุข 5 มิติ ต่อ ระดับไขมันในเลือด เปอร์เซ็นต์ไขมัน มวลกระดูก และความดันโลหิต ในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

การรับรู้อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง พฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิต และแรงสนับสนุนจากครอบครัว ระหว่างผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ และไม่ได้ ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดบางไกรใน จังหวัดนนทบุรี

รัฐกานต์ ขำเขียว และ ชนิดา มัททวางกูร. (2561). การรับรู้อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง พฤติกรรมการควบคุมระดับความดันโลหิต และแรงสนับสนุนจากครอบครัว ระหว่างผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ และไม่ได้ ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดบางไกรใน จังหวัดนนทบุรี. วารสารควบคุมโรค, 44(2), 130-144.

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มตัวอย่างในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

วราภรณ์ คำรศ, ชนิดา มัททวางกูร และ ชัยสิทธิ์ ทันศึก. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มตัวอย่างในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. Chula Med Bull, 1(4), 359 – 368.

ประสิทธิผลบางส่วนของการฝึกสติรูปแบบวิปัสสนาในผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์

นวลน้อง วงศ์ทองคำ, สีอรุณ แหลมภู่, พุทธวรรณ ชูเชิด และ สุวรรณา เชียงขุนทด. (2560). ประสิทธิผลบางส่วนของการฝึกสติรูปแบบวิปัสสนาในผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการยาเสพติดแห่งชาติครั้งที่ 18 ปี 2560. ปทุมธานี: สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี.

ผลการสอนโดยใช้หลักการพัฒนาสมองเป็นฐานต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในการเรียนวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชของนักศึกษาพยาบาล

พุทธวรรณ ชูเชิด และ สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร. (2560). ผลการสอนโดยใช้หลักการพัฒนาสมองเป็นฐานต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในการเรียนวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 18(35), 65-80.