การศึกษาการควบคุมงานก่อสร้างอาคารศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

Last modified: March 27, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
การศึกษาการควบคุมงานก่อสร้างอาคารศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
A Study of Building Construction Supervision at Queen Sirikit National Convention Center
ชื่อผู้เขียน –
Author:
รักษยา ดาราย้อย, Raksaya Darayoi
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
อาจารย์สมศักดิ์ ชินวิกกัย – Mr. Somsak Chinvikkai
ชื่อปริญญา –
Degree:
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน) – B. Eng. (Civil Environment and Sustainable Engineering)
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
คณะวิชา –
Faculty:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน – ฺBachelor of Engineering Program in Civil Environment and Sustainable Engineering
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
3/2564 (2021)

บทคัดย่อ

     การศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมงานและการก่อสร้างทั้งงานโครงสร้าง และงานสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานการก่อสร้าง ต้องใช้ประสบการณ์และหลักวิชาการเข้ามาผสมผสานกันเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของผู้ว่าจ้างงาน

     เหตุผลที่เลือกงานพื้นโพสเทนชั่นเพราะว่าทางผู้ศึกษาเองยังไม่มีโอกาสได้ทำงานในเรื่องของพื้นโพสเทนชั่น จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ สำหรับผู้ฝึกงานที่สนใจและอยากจะศึกษาต่อเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับพื้น Post tension มากยิ่งขึ้น และทางด้านของผู้ปฏิบัติงานได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องพื้น Post tension และงานโครงสร้างเสาคอนกรีต และงานสถาปัตยกรรมการก่อการฉาบและงานตกแต่งบางส่วน ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับผลลัพธ์คือได้รู้รายละเอียดในการทำงานจริงมากยิ่งขึ้น และไม่อิงวิชาการจนเกินไป ทำให้ได้เรียนรู้การทำงานจริง ๆ และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพราะบางปัญหาเราไม่สามารถมองภาพออกได้จึงต้องอาศัยการทำงานจริง

     สุดท้ายนี้ผู้จัดทำได้มีข้อสรุปของการทำงานในครั้งนี้คือ ในความเป็นจริงแล้วในการทำงานเราไม่สามารถตั้งหลักวิชาการได้ตลอดเวลา ซึ่งงานบางประเภทต้องใช้ประสบการณ์และเวลาในการทำงานที่จะช่วยทำให้ประสบการณ์มากยิ่งขึ้น และเป็นผลดีในการทำงานในอนาคต

คำสำคัญ: การควบคุมงาน, งานโครงสร้าง, การก่อสร้าง, อาคารประชุม


Abstract

     The construction supervision Queen Sirikit National convention center consisted of both structural and architectural work and is part of the construction project management. This work required experience and academic principles to be blended to gether to achieve the goals of the employer.

     The reason for choosing the post-tension floor work was because work on the post-tension floor. is interesting for trainees Thosc that want to continue their studies, more knowledge about post tension and concrete structures and some architectural, plastering and decorative work for good results must be know in detail in the actual work and not academically based. it helped me learn to really work and to solve immediate problems, because some problems we can’t see in the plans, therefore requires real work.
Finally, a summary of work this time cannot always be academic, some jobs require on site experience and time to work for a good result in future work.

Keyword: quality, supervision, construction, structure, convention center


อาจารย์สมศักดิ์ ชินวิกกัย – Mr. Somsak Chinvikkai, วศ.บ. (วิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน) – B. Eng. (Civil Environment and Sustainable Engineering), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering), วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน – ฺBachelor of Engineering Program in Civil Environment and Sustainable Engineering, 3/2564 (2021)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 10
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code