ระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ

Last modified: June 13, 2021
You are here:
Estimated reading time: 1 min
หัวข้อปริญญานิพนธ์:
Project Title:
ระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ
Frontend Management System for a Grocery Store
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นาย ธนากร  แซ่ลี่  5804800014, นาย จิรพัฒน์  อ่วมมั่น 5804800022
Mr. Tanakorn  Saelee  5904800014, Mr. Jirapat Oumman 5904800022
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
อาจารย์ ธนาภรณ์  รอดชีวิต
Miss Thanaporn Rodcheewit
ระดับการศึกษา:
Degree:
วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)
Bachelor of Science
ภาควิชา:
Major:
วิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science
คณะ:
Faculty:
วิทยาศาสตร์
Science
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
1/2563
1/2020

การอ้างอิง/citation

ธนากร แซ่ลี่ และจิรพัฒน์ อ่วมมั่น. (2563). ระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ. (โครงงาน). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

ปริญญานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ ณ ปัจจุบันนี้การซื้อขายของจากร้านค้า และร้านสะดวกซื้อ มักมีการจัดเก็บข้อมูล หรือจัดการการซื้อขายของหน้าร้าน การคำนวณเงินต่าง ๆ ด้วยมือ ทำให้ยากต่อการจัดการข้อมูลต่าง ๆ ดังนั้นทางคณะผู้จัดทำจึงได้ทำการพัฒนาระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ โดยแบ่งการทำงานออกเป็น  2 ส่วนหลัก ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สำหรับผู้ดูแลระบบ (เจ้าของร้าน) โดยสามารถตรวจสอบและจัดการกับข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เช็คจำนวนของในคลังสินค้า เพิ่ม ลบ และแก้ไขสินค้า และสามารถออกรายงานได้ ส่วนที่ 2 สำหรับพนักงาน โดยสามารถใช้หน้าขายสินค้า ออกใบเสร็จการขายสินค้า และเพิ่ม ลบ และแก้ไขสินค้า โดยระบบพัฒนาในรูปแบบของเว็บแอปพลิเคชัน ทำงานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ ด้วยภาษา HTML, PHP, JavaScript, CSS และ JQuery ระบบจัดการฐานข้อมูลด้วย MariaDB จัดการข้อมูลด้วยภาษา SQLโดยระบบสามารถช่วยแก้ปัญหาในปัจจุบันได้ ทำให้ลดการเกิดปัญหาจากการทำงานแบบเดิมได้อย่างมาก ลดข้อผิดพลาดในการทำงาน

คำสำคัญ: ร้านค้า, ร้านสะดวกซื้อ, ระบบขายหน้าร้าน


Abstract

The main objective of this project was to develop a Frontend Management System for a grocery store. Sales for many stores and convenience stores are often managed and calculate profits by hand so its difficult to manage the system, so the aim was to improve grocery store management. The project had 2 main types: 1. Administrator (Owner) that is able to check and manage data storage, list of sales and purchases, check the number of goods in the warehouse, and edit inventory; 2. Employees can use product page, produce sales receipts and they can add, delete or edit The sales list. The system was developed in the form of a web application that works through a web browser and used the languages HTML, PHP, JavaScript, CSS and JQuery. Database management used MariaDB and manage data with SQL. The system was able to solve the problems and reduced system crashes and errors.

Keywords:  Store, Grocery Store, Sale System.


ระบบบริหารจัดการหน้าร้านขายของชำ | Frontend Management System for a Grocery Store

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม  |  Faculty of Science, Siam University, ฺBangkok, Thailand

Related

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 1
Views: 4359
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print