โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนพรานนก ส่วนงานพื้นทางลอด

Last modified: April 5, 2024
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อเรื่อง –
Title:
โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนพรานนก ส่วนงานพื้นทางลอด
The underpass construction project on Charansanitwong Road and Prannok Road Part Bottom Slab
ชื่อผู้เขียน –
Author:
วทัญญู ลาดคำจันทร์ – Watanyu Ladkumjun
อาจารย์ที่ปรึกษา –
Advisor:
อาจารย์สมศักดิ์ ชินวิกกัย – Mr. Somsak Chinvikkai
ชื่อปริญญา –
Degree:
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน) – B. Eng. (Civil Environment and Sustainable Engineering)
ภาควิชา/สาขาวิชา –
Major:
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
คณะวิชา –
Faculty:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน – ฺBachelor of Engineering Program in Civil Environment and Sustainable Engineering
ภาคเรียน/ปีการศึกษา –
Semester/Academic year:
3/2563 (2020)

บทคัดย่อ

     รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เรื่อง โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนพรานนกส่วนพื้นงานทางลอด บริษัท ทริปเปิ้ล อี เอมไพร์ กรุ๊ป จำกัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการทำงาน และขั้นตอนการก่อสร้างทางลอดและเรียนรู้หน้างานจริงของของระบบการก่อสร้างทางลอด ส่วนพื้นงานทางสอด

     โดยศึกษาขั้นตอนการก่อสร้างทางลอด ส่วนพื้นงานทางลอด จากการปฏิบัติงานตามแผนงานและแบบแปลนการก่อสร้าง รวมทั้งการนำความรู้ที่ได้จากห้องเรียนมาปรับใช้กับหน้างาน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับ ลักษณะของการทำงานและศึกษาแบบแปลน รวมไปถึงขั้นตอนการก่อสร้างตามแผนงานและความปลอดภัย

     ผลของการปฏิบัติงานครั้งนี้ ทำให้ได้เรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ ในการพัฒนาความรู้ต่อการนำไปใช้ใน การประกอบวิชาชีพตลอดระยะเวลาการทำงาน ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานจากวิศวกร ผู้ควบคุงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องในเรื่อง การตรวจสอบงานก่อสร้าง วิธีควบคุมงาน และการจัดสรรวัสดุ รวมไปถึงขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบและค้านึงถึงความปลอดภัย เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพงานที่ดี ตามระยะเวลากำหนด

คำสำคัญ: พื้นทางลอด, ขั้นตอนการก่อสร้าง


Abstract

This project studied the underpass construction on Charansanitwong Road and Prannok Road, Bottom Slab, of TRIPLE E EMPIRE GROUP CO., LTD. The objective was to study the working guidelines, the underpass construction project, and learn about the actual work process of the system for underpass construction.

The construction drawings and construction schedule were guidelines to build the Bottom Slab. The knowledge from the classroom was applied on the job site. The construction process according to the safety guidelines were explored to understand the work tasks.

The result of this project enabled further knowledge in a professional practice throughout the working period. The experience was gained from the supervisor, engineers, and the workers on the construction site and showed how to control the work and material allocation. Moreover, work procedures and safety considerations aimed for efficient work and good quality while abiding to the schedule.

คำสำคัญ: bottom slab, construction process, safe


อาจารย์สมศักดิ์ ชินวิกกัย – Mr. Somsak Chinvikkai, วศ.บ. (วิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน) – B. Eng. (Civil Environment and Sustainable Engineering), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering), วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน – ฺBachelor of Engineering Program in Civil Environment and Sustainable Engineering, 3/2563 (2020)

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 13
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code