การจัดเก็บข้อมูลและการแยกประเภทสินค้าด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์

Last modified: March 8, 2020
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
การจัดเก็บข้อมูลและการแยกประเภทสินค้าด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์
Utilization of Microsoft Excel for Data Collection and Categorizing
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นางสาวณัฐชลัยกร พิทักษ์บุญญาทร, นาย คำพุก พิมสารี
Mr. Kampak  Pimsaree, Miss Natchalaikorn  Pitakboonyathon
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ดร.ขวัญใจ อุณหวัฒนไพบูลย์
Dr. Kwanjai  Unthavatanapaibul
ระดับการศึกษา:
Degree:
บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.)
Bachelor of Business Administration
ภาควิชา:
Major:
การจัดการทั่วไป
General Management
คณะ:
Faculty:
บริหารธุรกิจ
Business Administration
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
3/2560
3/2017

การอ้างอิง/citation

ณัฐชลัยกร พิทักษ์บุญญาทร และ คำพุก พิมสารี. (2560). การจัดเก็บข้อมูลและการแยกประเภทสินค้าด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ 1)เพื่ออา นวยความสะดวกและลดขั้นตอนการทา งาน 2)เพื่อลดทรัพยากรซื้อกระดาษ หมึกพิมพ์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันบริษัท นา สิริการ์เมนท์กรุ๊ป จา กัด ได้มีการจัดเก็บเอกสารในรูปบันทึก ด้วยมือทา ให้ในการค้นเอกสารเกิดความล่าช้า ดังนั้น จึง นาเสนอการจัดเก็บข้อมูลและการแยกประเภทสินค้าด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์ใช้กับบริษัท นาสิริการ์เมนท์กรุ๊ป จา กัด โดยมีขั้นตอนการจัดทา ระบบจัดเก็บเอกสาร ดังนี้ 1. จัดทา ตาราง Excel เป็นหัวข้อตามที่ต้องการ 2. ตั้ง Folder ที่จะจัดเก็บเอกสาร 3. นา เอกสารเข้าระบบ โดยทา เป็น Hyperlink 4.บันทึกข้อมูลตามรายการสั่งซื้อจากการเก็บเอกสารด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์ โดยระบบเอ๊กซ์เซลล ์สามารถแยกประเภทของเอกสารได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในเรื่องความแม่นยาพร้อมกับช่วยลดปัญหาด้านการสืบค้นข้อมูล ลดขั้นตอนการทา งาน ข้อเสนอแนะ ควรจัดอบรมพนักงานเกี่ยวกับโปรแกรม Excel

คำสำคัญ: การเก็บเอกสาร, ระบบเอ๊กซ์เซลล์


Abstract

The main objectives for this study was to eliminate the unnecessary steps facilitate data processing, and to reduce non-reusable resources in order to cut down fixed costs for data collection, such as paper and printing ink.

Currently, state Numsiri Garment Group Company Ltd. is still using manually written documents to collect data, which is time consuming and unproductive, as well as suffering time efficiency for data collection and the data search process. We then introduced a digital process to facilitate data collection and categorized for the company by using Microsoft Excel. First, we asked a company clerk to create an Excel file that contains necessary information, then save it into a related folder in the computer.

Secondly, we put documents in a hyperlink system. Lastly, we let the clerk collect data by using those Excel files. By using Microsoft Excel for data categorization, it was found that the collection was more efficient and data processing was faster. Moreover, it reduced data searching time, and overall problem for data searching process. Microsoft Excel training is recommended for this kind of working operation.

Keywords:  Data collection, Microsoft Excel, Categorization.


การจัดเก็บข้อมูลและการแยกประเภทสินค้าด้วยระบบเอ๊กซ์เซลล์ / Utilization of Microsoft Excel for Data Collection and Categorizing

บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป Faculty of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 490
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print