การสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม

Last modified: February 16, 2021
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
การสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม
Construction of Electrical Control Cabinets for Industrial Vacuum Machines
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นางสาวกานดา   บัวแก้ว,  นายทองขาว   ศิลปชัย
Ms. Kanda Boukaew, Mr. Thongkaow Silapachai
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไวยพจน์   ศุภบวรเสถียร
Asst.Prof. Vyapote   Supabowornsathian
ระดับการศึกษา:
Degree:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)
Bachelor of Engineering
ภาควิชา:
Major:
วิศวกรรมไฟฟ้า
Electrical Engineering
คณะ:
Faculty:
วิศวกรรมศาสตร์
Engineering
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
3/2562
3/2019

การอ้างอิง/citation

กานดา บัวแก้ว และ ทองขาว ศิลปชัย. (2562). การสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

โครงงานสหกิจศึกษาเล่มนี้ได้นำเสนอประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการเรียนรู้ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษากับ บริษัท ฮูหวัก เอเชีย จำกัด โดยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม เพื่อให้เครื่องจักรทำงานเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกำหนดต่างๆ ซึ่งทางผู้จัดการแผนกผลิตจะมอบหมายให้พนักงานพี่เลี้ยงแนะนำนักศึกษาสหกิจศึกษาได้ฝึกงานในแผนกไฟฟ้าในตำแหน่งวิศวกรฝึกหัดเพื่อเรียนรู้การทำงานในแผนกไฟฟ้า เกี่ยวกับการสร้างตู้ควบคุมเครื่องจักรของบริษัทโดยเริ่มตั้งแต่การรับคำสั่งการผลิต  การออกแบบ การเลือกอุปกรณ์ การประกอบตู้ควบคุม การเขียนโปรแกรมพีแอลซีการติดตั้ง และขั้นตอนการทดสอบตู้ควบคุม ได้ถูกนำเสนออย่างละเอียดในโครงงานสหกิจศึกษาเล่มนี้

คำสำคัญ: เครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม, ตู้ควบคุมไฟฟ้า, การเขียนโปรแกรมพีแอลซี


Abstract

This co-operative study project presented practical experiences in Construction of Electrical Control Cabinets for Industrial Vacuum Machines. This was the learning between cooperative studies with Huwak Asia Co., Ltd. The intern was responsible for the design and construction of electrical control cabinets for industrial vacuum cleaners to work in accordance with various conditions and requirements. The intern was assigned work in the electrical department as a trainee engineer to learn in the electrical department. It consisted of the construction of the company’s machine control cabinet from taking orders, manufacturing, designing, equipment selections, assembling the control cabinet PLC programming, installation and control cabinet testing procedure. The details  of the cooperative education project was described in the project.

Keywords:  Vacuum Machines, Electrical Control Cabinets, PLC Programing.


 การสร้างตู้ควบคุมไฟฟ้าสำหรับเครื่องดูดฝุ่นอุตสาหกรรม | Construction of Electrical Control Cabinets for Industrial Vacuum Machines

 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม  |  Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand

Related

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 1159
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code