ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

Last modified: October 4, 2022
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อบทความ: ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง
Research Article: The relationship between factors and adaptive behaviors for online learning and learning achievement of nursing students in a private university
ผู้เขียน|Author: ขวัญเรือน ก๋าวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร | Kwanruen Kawitu, Chaisit Thansuk, Rachee Ditajorn, Chanida Mattavangkul
Email: kwanruen.kaw@siam.educhaisit.tha@siam.edu ; rachee.dit@siam.edu ; chanida.mat@siam.edu
คณะ: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ 10160
Department|Faculty: Faculty of Nursing,  Siam University, Bangkok 10160
Published|แหล่งเผยแพร่: วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2564 | Journal of Health and Health Management Vol. 7 No. 2 July-December 2021

การอ้างอิง|Citation

ขวัญเรือน ก๋าวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 7(2), 196-211.

Kawitu K., Thansuk C., Ditajorn R., & Mattavangkul C. (2021). The relationship between factors and adaptive behaviors for online learning and learning achievement of nursing students in a private university. Journal of Health and Health Management, 7(2), 196-211.


บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงพรรณนาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความเครียดและพฤติกรรมการปรับตัว ในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง สยาม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 จํานวน 113 คน คัดเลือกตามเกณฑ์และเข้าหากลุ่ม ตัวอย่างด้วยวิธีการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามปัจจัยความเครียดและแบบสอบถาม พฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 95, 1.00, 94, 1.00, 1.00 และ 1.00 ตามลําดับ ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 97, 95, 96, 92, 93, 89 และ 86 9 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติไคสแควร์

ผลการวิจัย พบว่า จํานวนครั้งในการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์ (r = 244, p < .01) ปัจจัยด้านผู้เรียน (r = 344, p < .01) ปัจจัยด้านเทคโนโลยีและช่องทางการติดต่อสื่อสาร (r = 260 , p < .01) ปัจจัยด้านครอบครัว และสังคมเศรษฐกิจ (r = 208, p < .05) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (r = 235, p < .05) และพฤติกรรมการปรับตัว (r =.190, p < .05) เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จึงเสนอแนะว่าการจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์อาจารย์ต้องจัดกิจกรรมให้มีการทบทวนเนื้อหาที่เรียน อาทิ มอบ หมายงานตามใบงานหรือให้สรุปผังภาพมโนทัศน์ของเนื้อหาหลังการเรียน ให้กําลังใจในการเรียน และคําแนะนํา ในการปรับตัวอย่างเหมาะสม รวมถึงสนับสนุนผู้ปกครองช่วยในการสนับสนุนทั้งค่าใช้จ่าย สภาพแวดล้อมที่เหมาะ กับการเรียนออนไลน์

คําสําคัญ: ปัจจัย, พฤติกรรมการปรับตัว, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การเรียนแบบออนไลน์


ABSTRACT

This research aimed to examine the factors and adaptive behavior associated with learning achievement in the undergraduate nursing students at Siam University. The sample included 113 students. The questionnaire was reviewed by three experts. The content validity indices were .95, 1.00, 94, 1.00, 1.00, and 1.00 respectively. Cronbach’s alpha Coefficient reliability were 97, 95, .96, 92, 93, 89 and .86 respectively. The data were analyzed by using descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, and standard deviation. Inferential statistics were employed for data analysis with Pearson’s product correlation coefficient and the Chi-square test for correlation.

The results revealed the factors which were statistically significantly associated with learning achievement, which were tutorial effects (r = .244, p < .01), student factor (r = .344, p <.01), technology and IT platform (r = 260, p <.01), family and socioeconomic factor (r = .208, p <.05), environment factor (r = .235, p<.05), and adaptive behaviors (r =.190, p <.05). Therefore, teachers should be motivated to support tutorial effects through techniques such as worksheets or mind mapping after finishing class. Encouragement and advice for students are necessary. Administrators and faculties should provide this information to students’ parents in order to support the provision of suitable facilities (time, private zone, expenses) for online learning.

Keywords: factors, adaptive behavior, learning achievement, online learning.


ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง | The relationship between factors and adaptive behaviors for online learning and learning achievement of nursing students in a private university

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 1675
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code
Recent articles