การตรวจสอบพิจารณาและติดตั้งระบบการระบายน้ำฝนกรณีศึกษาโครงการบ้านคุณวีรวัฒน์

Last modified: March 15, 2023
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
การตรวจสอบพิจารณาและติดตั้งระบบการระบายน้ำฝนกรณีศึกษาโครงการบ้านคุณวีรวัฒน์
Inspection, Consideration and Installation of Rainwater Drainage System Case study of Mr. Weerawat’s House Project
ชื่อนักศึกษา:
Author:
คมสันต์ โตอินทร์, อรรถพล สว่างอารมณ์ และอิสเรศ พุ่มเปีย
Komsan Toin, Atthaphon Sawangarom and Isaret Poompia
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย
Dr. Chanchai Wiroonritichai
ระดับการศึกษา:
Degree:
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)
Bachelor of Engineering
ภาควิชา:
Major:
วิศวกรรมเครื่องกล
Mechanical Engineering
คณะ:
Faculty:
วิศวกรรมศาสตร์
Engineering
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
1/2563
1/2020

การอ้างอิง|Citation

คมสันต์ โตอินทร์, อรรถพล สว่างอารมณ์ และอิสเรศ พุ่มเปีย. (2563). การตรวจสอบพิจารณาและติดตั้งระบบการระบายน้ำฝนกรณีศึกษาโครงการบ้านคุณวีรวัฒน์. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

Toin K., Sawangarom A., & Poompia I. (2020). CInspection, consideration and installation of rainwater drainage system: Case study of Mr. Weerawat’s House Project. (Cooperative Education). Bangkok: Faculty of Engineering, Siam University.


บทคัดย่อ

โครงงานนี้เป็นการนําเสนอการการตรวจสอบขนาดท่อรางน้ําฝนและตําแหน่งรูฟเดรนในโครงการบ้านคุณวีรวัฒน์ ซึ่งจะแสดงขั้นตอนการการตรวจสอบขนาดท่อรางน้ําฝน ซึ่งในการ ตรวจสอบครั้งนี้ จะใช้ตารางมาตรฐานการออกแบบท่อ ตามมาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบันการติดตั้งท่อรางน้ําฝน ยังมีปัญหาในการออกแบบ ขนาดและข้อต่อที่ยังไม่สามารถออกแบบให้ตรงตามมาตรฐาน ซึ่งยังไม่มีการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้อง

โดยให้เกิดความเสียหาย เพื่อการแก้ไขปัญหาสําหรับการออกแบบท่อรางน้ําฝนและตําแหน่งรูฟเดรน นักศึกษาสหกิจจึงให้ความสําคัญของการออกแบบ โดยการใช้โปรแกรมสําเร็จรูปในการสร้างแบบและแบ่ง ช่วงระยะของท่อแต่ละเส้น เพื่อนําแบบมาเปรียบเทียบและใช้ในการออกแบบ เนื่องจากแบบทาง หน้างานนั้นยังมีปัญหาในการออกแบบผิดพลาด

ผลที่ได้จากแบบหน้างานพบว่า ตําแหน่งรูฟเดรนไม่ตรงจุดตามแบบและการเดินท่อรางน้ําฝน จึงใช้มาตรฐานในการเดินท่อรางน้ําฝนและขนาดท่อรางน้ําฝน ท่อที่ไม่มีการลาดเอียงจะทํา ให้เกิดการไหลของน้ําได้ช้าและท่อที่ทําการลาดเอียงจะทําให้การไหลเร็วกว่าไม่ได้ลาดเอียง จึงใช้ตารางมาตรฐานในการลาดเอียงท่อรางน้ําฝน

คําสําคัญ: การออกแบบ, การติดตั้ง, ท่อรางน้ําฝน


Abstract

This project aimed to study the inspection on the sizes of rain gutter pipes and the location of the roof drain in Ban Khun Weerawat project, and shows the process of checking the size of the rain gutter pipes. In this project, a pipe design standards table, according to the standards of the Engineering Institute of Thailand under the Royal Patronage of His Majesty, was used. The installation of rain gutter pipes still has problems with the design, in terms of dimensions and joints that cannot meet the standards, and there is no correct solution for the damage.

In order to solve the problems of the design of rain gutter pipes and the location of the roof drain, cooperative students gave importance to the design by using a ready-made program to create a model and divide the range of each pipe in order to compare and use it in the design because on-site models still have problems with design errors.

The results from the on-site design revealed that the roof drain position was not in line with the original design and the installation of the rain gutter pipes. Therefore, the standard was used for the installation of rain gutter pipes and pipe sizes. Unsloped pipes produced slower water flow and sloping pipes produced faster flow, so a standard table was used to slope gutter pipes.

Keywords: design, installation, rain gutter pipes.


การตรวจสอบพิจารณาและติดตั้งระบบการระบายน้ำฝนกรณีศึกษาโครงการบ้านคุณวีรวัฒน์|Inspection, Consideration and Installation of Rainwater Drainage System Case study of Mr. Weerawat’s House Project

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม  |  Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok,  Thailand

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 78
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print

QR code for article

QR Code