Topics: -สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
การศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารโรงงาน บริษัท ฟงซัน พริ้นติ้ง จำกัด

ชำนาญ ทองมาก. (2563). การศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารโรงงาน บริษัท ฟงซัน พริ้นติ้ง จำกัด. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตน้ำแข็ง (อาคาร คสล.ชั้นเดียว)

เอนก รังษี. (2563). โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตน้ำแข็ง (อาคาร คสล.ชั้นเดียว). (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์

เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และ สมศักดิ์ ชินวิกกัย. (2563). การวิเคราะห์เปรียบเทียบแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มแต่ละต้นที่มีผลจากปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์ด้วยทฤษฎีฐานรากยืดหยุ่นและแข็งแกร็งกับวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษาแบบแปลนและขั้นตอนการก่อสร้างพื้นคอนกรีตอัดแรง

ธนพนธ์ เรือนนาค และ อภิวัฒน์ ทิพยวนาวัฒน์. (2562). การศึกษาแบบแปลนและขั้นตอนการก่อสร้างพื้นคอนกรีตอัดแรง. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร

อินทราชัย สิมะพิเชฐ. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างพื้นระบบ Post tension Concrete Slab กับ โครงสร้างพื้นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก Conventional Concrete Slab ในโครงการอพาร์ทเม้น 5 ชั้น จ. สมุทรสาคร. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การศึกษากลสมบัติด้านกำลังของจีโอพอลิเมอร์ผสมถ่านเปลือกกล้วยน้ำวา

ไตรทศ ขำสุวรรณ และ ภาคภูมิ มงคลสังข์. (2563). การศึกษากลสมบัติด้านกำลังของจีโอพอลิเมอร์ผสมถ่านเปลือกกล้วยน้ำวา. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 (หน้า 1736 – 1740). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

กรณีศึกษาการก่อสร้าง โรงงาน (Hongling) นิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ ระยอง บริษัท จงเทียน โอเวอร์ซีส์ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด

ชุมพล แจ้งโลก. (2561). รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา กรณีศึกษาการก่อสร้าง โรงงาน (Hongling) นิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ ระยอง บริษัท จงเทียน โอเวอร์ซีส์ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

การวางแผนงานและขั้นตอนการก่อสร้างงานโครงสร้างกรณีศึกษาเฮ้าส์พัทยา

ปิยมน วงษาเทศ, นพเก้า ตะเพียรทอง และ ภาณุพงษ์ ตรีเมฆ. (2561). การวางแผนงานและขั้นตอนการก่อสร้างงานโครงสร้างกรณีศึกษาเฮ้าส์พัทยา. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

วิธีการประเมินโครงสร้างอาคาร

ภาคภูมิ มงคลสังข์ และ ไตรทศ ขำสุวรรณ. (2560). วิธีการประเมินโครงสร้างอาคาร. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 2 เรื่อง นวัตกรรมอาคาร 2560 : อาคารอัจฉริยะอย่างยั่งยืน. นครปฐม: สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ประสิทธิภาพทางกลสมบัติของมอร์ต้าผสมเม็ดโฟม

ไตรทศ ขำสุวรรณ และ ภาคภูมิ มงคลสังข์. (2560). ประสิทธิภาพทางกลสมบัติของมอร์ต้าผสมเม็ดโฟม. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 “เทคโนโลยีเขียวเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน” (หน้า 1-5). นครราชสีมา: สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง

พีรวัฒน์ ปลาเงิน. (2561). ประยุกต์ใช้น้ำยางพาราและดินซีเมนต์พัฒนาสระน้ำต้านภัยแล้ง. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25(2), 170-80.

การเสริมกำลัง CFRP โครงสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ภาคภูมิ มงคลสังข์. (2561). การเสริมกำลัง CFRP โครงสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 3 การบูรณาการความรู้เพื่อสังคมที่ยั่งยืน (หน้า…). ใส่ชื่อสถานที่: ใส่ชื่อสถาบันผู้จัดการประชุม.

คุณสมบัติกายภาพและทางกลของมอร์ต้าร์ผสมน้ำยางพารา

พีรวัฒน์ ปลาเงิน, ชวน จันทวาลย์, ฐาวัฒน์ ทั่วประโคน, กิตติภพ จันทร์เพ็ญ, ตรีเพชร์ จาโสด และ รณภพ ค่ายหนองสวง. (2561). คุณสมบัติกายภาพและทางกลของมอร์ต้าร์ผสมน้ำยางพารา. ใน การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23 (หน้า 1-10). นครนายก: โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า.

การศึกษาและพัฒนาคูส่งน้ำคอนกรีตผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา

พีรวัฒน์ ปลาเงิน, ชวน จันทวาลย์ และ ณัฐพล อภินันทโน. (2561). การศึกษาและพัฒนาคูส่งน้ำคอนกรีตผสมน้ำยางพาราสำหรับใช้ในระบบชลประทานไร่นา. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 23 (หน้า -). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท).