- KB Home
- หลักสูตรปริญญาตรี|Bachelor Degree
- คณะวิศวกรรมศาสตร์
- -สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
- การออกแบบหัวกระจายน้ำดับเพลิง กรณีศึกษาโครงการ เดอะรูม พญาไท
ชื่อโครงงาน: Project Title: |
การออกแบบหัวกระจายน้ำดับเพลิง กรณีศึกษาโครงการ เดอะรูม พญาไท Fire Sprinkler Design: A Case Study of The Room Phayathai Project |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นายชินวัฒน์ โนรี Mr. Chinnawat Nori |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย Dr.Chanchai Wiroonritichai |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering |
ภาควิชา: Major: |
วิศวกรรมเครื่องกล Mechanical Engineering |
คณะ: Faculty: |
วิศวกรรมศาสตร์ Engineering |
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา: Semester / Academic year: |
3/2562 3/2019 |
การอ้างอิง/citation
ชินวัฒน์ โนรี. (2562). การออกแบบหัวกระจายน้ำดับเพลิง กรณีศึกษาโครงการ เดอะรูม พญาไท. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
บทคัดย่อ
โครงการเป็นการนําเสนอการออกแบบหัวกระจายน้ำ ที่ใช้ในโครงการ เดอะรูม พญาไท ซึ่งจะแสดงขั้นตอนการออกแบบหัวกระจายน้ำ ซึ่งในการออกแบบครั้งนี้ จะใช้ตารางมาตรฐานการออกแบบท่อ ตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบันการออกแบบ ยังมีปัญหาในเรื่องของจํานวนหัวกระจายน้ำดับเพลิงแบบอัตโนมัติที่มีความขัดแย้งกับพื้นที่ทั้งหมดของชั้น 7 จึงได้ทําการวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขเพื่อแก้ปัญหา สําหรับการออกแบบหัวกระจายน้ำโดยได้เล็งเห็นความสําคัญของการออกแบบนําเอาการคํานวณแบบการใช้ตารางท่อ พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุ่มที่ 1 เนื่องจากแบบทางหน้างานนั้นยังมีเปอร์เซ็นต์ในการออกแบบผิดพลาดอยู่จากผลที่ได้จากแบบทางหน้างานพบว่าขนาดพื้น พื้นที่คอนโด เดอะรูม พญาไท ชั้น 7 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,580.30 m2 หลังจากการตรวจสอบพบว่ายังมีพื้นที่ จํานวน 424.12 m2 ที่ไม่สามารถติดตั้งหัวกระจายน้ำดับเพลิงได้ ดังนั้นพื้นที่ทั้งหมดจะเหลือ 1,156.18 m2 และทําการคํานวณด้วยวิธี การใช้ตารางท่อ ผลที่ได้ว่าจํานวนหัวกระจายน้ำดับเพลิงตรงตามแบบหน้างาน 97 หัว
คำสำคัญ: การออกแบบ, หัวกระจายน้ำดับเพลิง
Abstract
This study aimed to present the water sprinkler design used in The Room Phayathai Project, which would show the water sprinkler design process by using the table of pipe design standards, according to the standards of the Engineering Institute of Thailand under the Royal Patronage of His Majesty the King, The design had a problem with the number of automatic sprinklers that conflicted with the total area of the 7th floor, so we analyzed the problem and found a solution for the sprinkler design, and focused on the importance of the design. The calculation of the Group 1 Medium Hazardous Area Pipe Grid was used because the on-site design still had a percentage of design errors. The results obtained from the on-site design, showed that the floor size of The Room Phayathai Condo, 7th floor, had a total area of 1,580.30 m2. After the inspection, there were still 424.12 m2 areas where the fire sprinkler could not be installed. Therefore, the total area would be 1,156.18 m2. The calculation was performed using the pipe schedule method, and the result revealed that the number of sprinklers corresponded to the 97-sprinkler on-site design.
Keywords: Design, Fire Sprinkler.
การออกแบบหัวกระจายน้ำดับเพลิง กรณีศึกษาโครงการ เดอะรูม พญาไท | Fire Sprinkler Design: A Case Study of The Room Phayathai Project
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand
Related
- การลดต้นทุนการถอดแบบปริมาณท่อในระบบดับเพลิง: กรณีศึกษาโครงการ คอนโดลุมพินีเดอะซีเล็คเต็ด (เกษตร-งามวงศ์วาน)
- การศึกษาเปรียบเทียบภาระการคำนวณความเย็นของห้องนอนแต่ละประเภท กรณีศึกษาของโครงการ วินคอนโด พหลโยธิน
- การสร้างและทดสอบปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ตู้เย็น
- การลดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบท่อน้าโสโครก ท่อระบายน้าทิ้งและท่ออากาศ: กรณีศึกษาโครงการ สินธรวิลเลจ ตึก (เอพี-ดับบลิว)
- การออกแบบท่อโสโครก ท่อนํ้าเสีย ท่ออากาศ ของอาคารทาวน์โฮม: กรณีศึกษาโครงการ BAAN 365 พระราม 3
- การตรวจสอบและปรับปรุงข้อผิดพลาดในระบบท่อดับเพลิง: กรณีบริษัท ไพโอเนียร์ โลจิสติกส์ จำกัด
- การสร้างเครื่องสูบน้ำจากวัสดุเหลือใช้
- การหาค่าความปลอดภัยของท่อทองแดงในระบบก๊าซทางการแพทย์ กรณีศึกษา สถานีกาชาดที่ 11
- การศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบระบบท่อประปาโดยใช้ท่อพีวีซีและท่อพีพีอาร์ในโครงการโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน
- การศึกษาภาระการทำความเย็นที่เหมาะสมของชั้นสูงสุด: กรณีศึกษาโครงการ แบงค์คอก เฟ’ลิซ สถานีบางแค
- การลดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบท่อน้าประปาและท่อน้าร้อน: กรณีศึกษาโครงการ สินธรวิลเลจ ตึก (เอพี-ดับบลิว)