น้ำยาบ้วนปากสมุนไพร

Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
น้ำยาบ้วนปากสมุนไพร
Herbal Mouthwash
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นางสาวกรวิภา  แมลงภู่
Miss Kornwipa Malangpoo
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
อาจารย์ปิยธิดา กังวานสิทธิ์
Miss Piyatida Kungwansith
ระดับการศึกษา:
Degree:
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
Bachelor of Arts (Liberal Arts)
ภาควิชา:
Major:
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
Tourism and Hospitality Industry
คณะ:
Faculty:
ศิลปศาสตร์
Liberal Arts
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
1/2562
1/2019

การอ้างอิง/citation

กรวิภา แมลงภู่. (2562). น้ำยาบ้วนปากสมุนไพร. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

จากการที่ได้ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สีลมโรด ตั้งแต่วันที่ 19 สิงหาคม 2562 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ทางผู้จัดทำได้ปฏิบัติหน้าที่ในแผนกแม่บ้าน พบว่าทางโรงแรมยังไม่มีน้ำยาบ้วนปากให้บริการในห้องพัก จึงทำให้ผู้จัดทำได้คิดโครงงานเรื่องน้ำยาบ้วนปากสมุนไพร โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพร 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพในช่องปากอย่างถูกวิธี 3. เพื่อสร้างรายได้  และเพื่อเป็นทางเลือกเพิ่มเติมต่อผู้บริโภค โดยผลิตภัณฑ์นี้จะมีส่วนผสมของสมุนไพรทั้งหมดจึงมั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์นี้จะปลอดสารเคมีอย่างแน่นอน

จากการสอบถามพนักงานจากแผนกพนักงานแผนกแม่บ้าน 10 คน พนักงานแผนกครัว  10 คน พนักงานแผนกส่วนหน้า 10 คน รวมเป็น 30 คน พบว่าค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ความพึงพอใจในด้านด้านราคา ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.73 มากที่สุดรองลงมา ด้านบรรจุภัณฑ์ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.7 ด้านคุณภาพค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.37 ด้านกลิ่นค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.27 ด้านสีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.23 ตามลำดับ ส่วนด้านรสชาติค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.6 ซึ่งมีความพึงพอใจน้อยที่สุด  โดยค่าเฉลี่ย  = 4.32 และค่า S.D. = 0.15 ซึ่งอยู่ในระดับความพึงพอใจที่มาก จากแบบสอบถามผู้จัดทำจะนำไปศึกษาเพิ่มเติมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดียิ่งขึ้นไปซึ่งผู้จัดทำคาดหวังว่าผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกคน เพื่อช่วยในการลดการใช้สารเคมี และสามารถทดแทนน้ำยาบ้วนปากทั่วไปได้

คำสำคัญ: น้ำยาบ้วนปาก, สมุนไพร, ไร้สารเคมี


Abstract

By attending the internship under the cooperative education at Novotel Bangkok, Silom Road from 19 August 2019 to 6 December 2019, the author was assigned to work as an intern for the Housekeeping Department. It was found that mouthwash was not available in the hotel rooms. Therefore, the author initiated the project of making an herbal mouthwash. The objectives of this project were: l) to study the methods of making the herbal mouthwash; 2) to promote proper oral health care; and 3) to generate income and provide additional options for consumers. This product contains all herbal ingredients so that consumers can feel confident that this product is chemical free.

Feedback was collected from the sample of 10 workers from the Housekeeping Department, 10 workers from the Kitchen Department, and 1 0 workers from the Front Office Department, totaling 30 individuals. The results indicated a mean satisfaction with the product and price was 4.73, which was at the highest level, followed by package with a mean of 4.7, quality with a mean of 4.37, smell with a mean of 4.27, color with a mean of 4.24, respectively. Taste had the lowest mean of 3.6 (f 4.32 and S.D. = 0.15) which was at a high level. Data from the questionnaire were then used by the author for further development of the product. The author hoped that this product would be beneficial for everyone to reduce the use of chemical-containing product and could be used as an alternative product for general mouthwash.

Keywords:  Mouthwash, Herb, Chemical-free.


น้ำยาบ้วนปากสมุนไพร | Herbal Mouthwash

Faculty of Liberal Arts, Siam University, Bangkok, Thailand

Related by advisor:

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 6544
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print