โปรแกรมท่องเที่ยวชลบุรี กระตุ้นวัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน

Last modified: June 17, 2020
You are here:
Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
โปรแกรมท่องเที่ยวชลบุรี กระตุ้นวัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน
Program for Touring Chonburi’s Contemporary Art and Culture of European-Thai-Chinese
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นายจีระศักดิ์ ไชยรบ, นายนันนภัสสรณ์ วงศ์ธรรมชัย
Mr. Jeerasak  Chairob, Mr. Nannaphachsorn  Wongthamchai
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
อาจารย์ปิยธิดา กังวานสิทธิ์
Ms. Piyatida  Kungwansith
ระดับการศึกษา:
Degree:
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
Bachelor of Arts (Liberal Arts)
ภาควิชา:
Major:
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
Tourism and Hospitality Industry
คณะ:
Faculty:
ศิลปศาสตร์
Liberal Arts
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
2/2562
2/2019

การอ้างอิง/citation

จีระศักดิ์ ไชยรบ และ นันนภัสสรณ์ วงศ์ธรรมชัย. (2562). โปรแกรมท่องเที่ยวชลบุรี กระตุ้นวัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.


บทคัดย่อ

จากการที่คณะผู้จัดทำได้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด ชลบุรี ทำให้เล็งเห็นปัญหาต่าง ๆ ของการท่องเที่ยวในจังหวัด จึงได้มีการจัดทำโครงงาน โปรแกรมท่อง เที่ยวชลบุรีกระตุ้นวัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน  จัดทำขึ้น 1. เพื่อสร้างความเชื่อมั่นด้านความ ปลอดภัยต่อการท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี 2. เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในจังหวัดชลบุรีให้มี นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น 3)เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้โปรแกรมท่องเที่ยวมีความหลากหลาย ทางคณะ ผู้จัดทำได้มีการศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวที่มีความสอดคล้องกับเส้นทางการ ท่องเที่ยววัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน ในจังหวัดชลบุรี และได้จัด ทำคลิปวิดีโอเผยแพร่ลงในเพจ Facebook ที่มีชื่อว่า สยาม โดยมีสถานที่ท่องเที่ยวทั้งหมด 3 แห่ง ได้แก่ อะลาคอมปาณย์พัทยา ตลาดน้ำ4ภาคพัทยา และชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้ว

จากการเผยแพร่วิดีโอลงในเพจ ทำให้มีผุ้เข้าชมทั้งหมด 8,400 ครั้ง กดถูกใจ 50 คน กดแชร์ 12 ครั้ง แสดงความคิดเห็นจำนวน 5 คน มีผู้กดถูกใจเพจเพิ่ม 36 คนและยอดผู้ติดตามเพจเพิ่มขึ้น 37 คน นอกจากนี้คณะผู้จัดทำยังได้ใช้แบบสอบถามในการประเมินความสนใจกับโปรแกรมท่องเที่ยวที่ได้เผยแพร่ใน Facebook แบบสอบถามมี ทั้งหมด 115 ชุด  เป็นคนไทยจำนวน 109 ชุด และชาวต่างชาติ จำนวน 6 ชุด โดยความสนใจต่อโปรแกรมท่องเที่ยวนี้มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.17 การแปรผลระดับความสนใจ มากทีสุด 2 ด้าน คือการ ผสมผสานแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ฝรั่ง-ไทย-จีน มีความน่าสนใจ และการประชาสัมพันธ์ผ่าน เพจ facebook เป็นทางเลือกที่จะกระตุ้นการท่องเที่ยว และด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับมาก

คำสำคัญ: ท่องเที่ยวชลบุรี, วัฒนธรรมร่วมสมัย, ฝรั่ง-ไทย-จีน


Abstract

The project, “ Program for Touring Chonburi’s Contemporary Art and Culture of European-Thai-Chinese” was created to stimulate tourism in Chonburi, who had been affected by Corona Virus (COVID-19). Which also was the
reason why the number of tourists decreased. The purpose of this study was: 1. To build confidence in the safety of tourists in the near future. 2. To stimulate tourism in Chonburi ; 3. To increase interest in travel programs. The organizing team researched and collected information on tourist attractions that were consistent with Contemporary
Art and Culture of European-Thai-Chinese in Chonburi. Then, created a video clip and posted it on Siam’s Facebook page. It has 3 tourist attractions, which were A’ La Campagne, Pattaya floating market and Ban Sak Ngaeo Old Chinese Market. The video was posted on Facebook and resulted in 8,400 views, 50 likes, 12 shares and 5
comments. The page had 36 likes and 37 followers. In addition, the organizing team used questionnaires to assess their interest in programs for touring Chonburi on Facebook. There was 115 sets of questionnaires, 109 Thai respondents and 6 foreigners. The interest in this program had a mean of 4.17, and the result is very interesting.

Keywords: Tourism in Chonburi, Contemporary culture, European-Thai-Chinese.


โปรแกรมท่องเที่ยวชลบุรี กระตุ้นวัฒนธรรมร่วมสมัย ฝรั่ง-ไทย-จีน | Program for Touring Chonburi’s Contemporary Art and Culture of European-Thai-Chinese

Faculty of Liberal Arts, Siam University, Bangkok, Thailand

Related by advisor:

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 199
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print