ถุงหอมสมุนไพร

Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
ถุงหอมสมุนไพร
Sachet with Aromatic Herb
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นางสาว ดรัณภัทร   ชัยธานี
Miss Daranphat  Chaitanee
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
อาจารย์กฤป  จุระกะนิตย์
Mr. Krip  Jurakanit
ระดับการศึกษา:
Degree:
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
Bachelor of Arts (Liberal Arts)
ภาควิชา:
Major:
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
Tourism and Hospitality Industry
คณะ:
Faculty:
ศิลปศาสตร์
Liberal Arts
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
2/2560
2/2017

การอ้างอิง/Citation

ดรัณภัทร  ชัยธานี. (2560). ถุงหอมสมุนไพร. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

Chaitanee D. (2017). Sachet with aromatic herb. (Cooperative Education). Bangkok: Faculty of Liberal Arts, Siam University.


บทคัดย่อ

ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมมีกลิ่นเป็นมลพิษต่อระบบหายใจหากเราซื้อน้ำยาดับกลิ่นตามท้องตลาดมาใช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทำให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น ผู้จัดทำจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม เช่น ใบเตย ผิวมะกูด ตะไคร้ มาทดลองกลิ่นหอมของสมุนไพรเพื่อเปรียบเทียบปริมาณที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกำจัดกลิ่นในสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้ำ สถานที่ ที่มีกลิ่นอับ จากการศึกษาพบว่าสมุนไพรที่เหมาะสมสามารถกำจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือ ผิวของมะกูด ลองลงมาก็คือใบเตย  ส่วนสุดท้ายคือตะไคร้ จึงได้นำมาทำถุงหอมสมุนไพรเพื่อนำวัตถุดิบที่เหลือใช้มาทำให้เกิดประโยชน์ยังทำให้แขกของโรงแรมที่มาใช้บริการห้องน้ำมีสุขภาวะที่ดีและเพื่อช่วยลดต้นทุนให้กับสถานประกอบการ

ผลจากการทำโครงงานสหกิจศึกษาเรื่อง ถุงหอมสมุนไพร ก่อให้เกิดประโยชน์ คือ สถานประกอบการสามารถนำผลิตภัณฑ์ถุงหอมสมุนไพรนี้ไปใช้ดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ เช่น ห้องน้ำ ห้องครัว เป็นต้น แทนการใช้น้ำยาดับกลิ่นที่ซื้อตามท้องตลาด ซึ่งมีราคาค่อนข้างแพง การทำโครงงานนี้ ทำให้สามารถช่วยลดต้นทุนของสถานประกอบการได้

คำสำคัญ: สมุนไพร, กลิ่น, ยาดับกลิ่น


Abstract

Air odors pollute the respiratory system and the deodorants sold in the market are usually have high price and their chemical components would cause more harm to the environment. The researcher decided to study easy-access herbs in the local area and herbs with good fragrance by experimenting on their smell to find which herb would most suitable for eliminating bad smells in closed spaces like a bathroom. From the study, the researcher has found that the herb that has best performance in eliminating bad smells was bergamot peel, followed by pandan, and the least suitable was lemon grass. Therefore, it was used to make herbal scented bags to bring the remaining raw materials to be beneficial, also to make the hotel guests who use the bathroom to have good health and to help reduce costs for the establishment.

From the cooperative education project of herbal bags, it benefited the establishment by eliminating unwanted odors in places such as bathrooms and kitchens instead of using deodorants sold in a market. This project would reduce the cost for managers.

Keywords:  Herb, Odors, Deodorants.


ถุงหอมสมุนไพร | Sachet with Aromatic Herb

Faculty of Liberal Arts, Siam University, Bangkok, Thailand

Related

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 40081
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print