Tags: บทความวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์
การพัฒนาตำรับยาสอดเต้าแบบผงแห้งสำหรับผสมเป็นยาแขวนตะกอนใช้ในโคนม

ดร. ภญ.วิริยาพร ศิริกุล – Dr. Wiriyaporn Sirikun และดร. ภญ.ชุติมน หมื่นแก้ว – Dr. Chutimon Muankaew. 2566 (2023). การพัฒนาตำรับยาสอดเต้าแบบผงแห้งสำหรับผสมเป็นยาแขวนตะกอนใช้ในโคนม – Development of Intramammary Dry Powder for Suspension in Dairy Cows Use. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical

การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังและส่งเสริมความรอบรู้ในการใช้กัญชาทางการแพทย์สำหรับประชาชน จังหวัดนครนายก

อ. ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – Mr. Shinnawat Saengungsumalee. Development of a Community Network and Promoting Health Literacy in Safe Medical Cannabis Use for thePeople of Nakhon Nayok Province. 2566 (2023). บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical

ประสบการณ์การรีวิวผลิตภัณฑ์สุขภาพของนิสิต/นักศึกษาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย

อ. ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – Mr. Shinnawat Saengungsumalee. Factors Associated with Irrational Antibiotic Use Behaviour among Social Media Users in Thailand. 2566 (2023). ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์. บทความ (Paper).วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care. Bangkok: Siam University

การสำรวจสถานการณ์การปฏิบัติงานให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ของบัณฑิตจากคณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย

ดร. เสถียร พูลผล – Dr. Sathian Phunpon. A Survey on the Practice on Smoking Cessation among Pharmacy Graduates in Thailand. 2566 (2023). การสำรวจสถานการณ์การปฏิบัติงานให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ของบัณฑิตจากคณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care. Bangkok: Siam University

ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์

Factors Associated with Irrational Antibiotic Use Behaviour among Social Media Users in Thailand. 2566 (2023). ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลของประชาชนที่ใช้สื่อออนไลน์. บทความ (Paper). Advisor: อ. ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – Mr. Shinnawat Saengungsumalee. วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. เภสัชศาสตร์ (Pharmacy). เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm.D. (Pharm.Care). หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม – Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care. Bangkok: Siam University

ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง

ทักษิณ จันทร์สิงห์, ปุณยวีร์ พืชสะกะ และภาสุนัน ดำรงค์คงชัย. (2566). ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2566) หน้า 409 – 421.

บทบาทของเภสัชกรในการดูแลรักษาโรคปลายประสาทอักเสบจากโรคเบาหวานด้วยวิตามินบี

ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา – Thanompong Sathienluckana. 2566 (2023). บทบาทของเภสัชกรในการดูแลรักษาโรคปลายประสาทอักเสบจากโรคเบาหวานด้วยวิตามินบี. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=1437

การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล

พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ, วิญญู ชะนะกุล, จันทร์เจ้า มงคลนาวิน, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา, พรยุพา เตียงพัฒนะวงษ์ และอนุสรา เครือนวล. (2566). การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(2), 523 – 535.

การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน

ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี, ยุพดี ศิริสินสุข และอนุชัย ธีระเรืองไชยศร. (2566). การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 5(2), 306 – 326.

ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตามหลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร

เสถียร พูลผล, ณัฐธิดา วุฒิโสภากร, พันธ์วิรา ชาติสมพงษ์, ภัครินทร์ พณิชย์อมรกุล. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตาม หลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(3), 741-749.

การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2566). การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน. วารสารศิลปการจัดการ, 7(2), 381 – 401.

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, ชวิน อุ่นภัทร, ปรุฬห์ รุจนธํารงค์, ชลธิชา สลักศิลป์, ศุภาพิชญ์ ศิริมงคล, กนกวรรณ แย้มหงษ์ และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 8(3), 495-507.

สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, อรปรียา ศักดาพิสุทธิ์, นิชกานต์ ศิลประเสริฐ, ปทุมพร เทพกัน, เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล และ ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา, 2(2), 10-23.

การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020

บุศยา กุลบุศย์ และ วีรชัย ไชยจามร. (2564). การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020. วารสารอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, , 7(3), 1-11.

เทคนิคทางเลือกสำหรับศึกษาลักษณะฟิล์มและเมมเบรน

ศศิประภา ชิตรัตถา และ ธวัชชัย แพชมัด. (2564). เทคนิคทางเลือกสำหรับศึกษาลักษณะฟิล์มและเมมเบรน. วารสารเภสัชกรกรอุตสาหการ, 9(2), 1-10.

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้ง และวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

อนุสรา เครือนวล, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, พลภัทร์ โล่เสถียรกิจ, สุทธา สุปัญญา, พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ และ พินทุสร กลับคุณ. (2564). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้งและวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 29(2), 177-88.

Prevalence and Antibiogram Profiles of Staphylococcus Aureus Isolates from Patients at Taksin Hospital, Bangkok, Thailand (January 2019 – May 2020) – (SCOPUS)

ปิยวรรณ พิภพวัฒนา, เฉลิมศรี พุ่มมังกูร, ศศิธร เจริญนนท์, ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์, หัทยา ธัญจรูญ, อภิโชติ โซ่เงิน, วิภาวี รอดจันทร์, รักษ์จินดา วัฒนลัย และ สมพร ศรีเฟื่องฟุ้ง. (2564). Prevalence และแอนติบิโอแกรมประวัติของการแยกเชื้อ Staphylococcus Aureus จากผู้ป่วยที่โรงพยาบาลตากสินกรุงเทพมหานครประเทศไทย (มกราคม 2562 – พฤษภาคม 2563). วารสารเวชศาสตร์เขตร้อนและสาธารณสุขแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 52(2), 230-239.

ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปากในผู้ป่วยที่รับยาต้านการเกิดลิ่มเลือดชนิดรับประทาน

ปรีชา เจษฎาชัย, สุภาพร วิริยะจิรกุล, วราวุธ อัมพรวิโรจน์กิจ และอุษาศิริ ศรีสกุล. (2563). ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปากในผู้ป่วยที่รับยาต้านการเกิดลิ่มเลือดชนิดรับประทาน. ว.ทันต.มศว., 13(2), 22-37.

ข้อแนะนำในการรักษาโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันสำหรับเภสัชกรชุมชน

ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา เฉลิมศรี ภุมมางกูร และ พุทธรัตน์ ขันอาษา. (2561). ข้อแนะนำในการรักษาโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันสำหรับเภสัชกรชุมชน. ว. เภสัชศาสตร์อีสาน, 14(4), 1-17.

ความรู้ทั่วไปสำหรับเภสัชกรเกี่ยวกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในเด็ก

ทักษิณ จันทร์สิงห์. (2562). ความรู้ทั่วไปสำหรับเภสัชกรเกี่ยวกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในเด็ก. วารสารเภสัชกรรมไทย, 11(1), 194-214.

เภสัชบำบัดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีโรคเรื้อรังทางกายร่วม

ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. (2560). เภสัชบำบัดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีโรคเรื้อรังทางกายร่วม. วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน, 13(3), 1-13.

การปรับขนาดยาในการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง

วีรชัย ไชยจามร. (2560). การปรับขนาดยาในการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง. ใน ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์…[และคนอื่น ๆ] (บ.ก.), ตำราการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องในผู้ป่วยวิกฤต (หน้า 295-308). กรุงเทพฯ: บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.