- KB Home
- หลักสูตรปริญญาตรี|Bachelor Degree
- คณะวิศวกรรมศาสตร์
- -สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีการพิมพ์
- การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกัน
ชื่อโครงงาน: Project Title: |
การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกัน Validation of a Color That Prints Down on the Inventory Prints |
ชื่อนักศึกษา: Author: |
นายกิตติพงษ์ ดวงพระเพ็ง Mr. Kittipong Duangprapeng |
อาจารย์ที่ปรึกษา: Advisor: |
อาจารย์พิทักษ์พงษ์ บุญประสม Mr. Pitagpong Boonprasom |
ระดับการศึกษา: Degree: |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering |
ภาควิชา: Major: |
วิศวกรรมการพิมพ์ Printing Engineering |
คณะ: Faculty: |
วิศวกรรมศาสตร์ Engineering |
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา: Semester / Academic year: |
2/2560 2/2017 |
การอ้างอิง/citation
กิตติพงษ์ ดวงพระเพ็ง. (2560). การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกัน. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
บทคัดย่อ
โครงการสหกิจศึกษานี้การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกันสำหรับใช้เป็นแนวทางในการปรับสี เครื่องพิมพ์ รุ่น GTO 52 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาในการปรับตั้งสีหน้าแท่นพิมพ์และลดปัญหาเรื่องกระดาษยืด
จากการปฏิบัติงานพบปัญหาการปรับตั้งสีของเครื่องพิมพ์ เนื่องจากเครื่องพิมพ์เป็นรุ่นเก่าทำให้การปรับสีนั้นทำไปได้ลำบากและใช้เวลานานในการพิมพ์งานแต่ละครั้งและพิมพ์งานพิมพ์กระดาษหลายประเภททำให้กระดาษยืดตัวและทำให้งานพิมพ์ไม่ได้มาตรฐาน
คำสำคัญ: การตรวจสอบค่าของสี, การพิมพ์สี
Abstract
This cooperative education project investigated color printing on different types of printing media. It is used as a guideline for color correction. The GTO 52 is intended to reduce the time needed to adjust the printing face and reduce the problem.
It was found that the printer’s color settings are problematic. As the printer is old, it takes a long time to print and feed paper, resulting in paper stretches, and printouts are not visibly seen which caused the printing quality to be sub-standard.
Keywords: Print media, GTO 52, Color printing.
การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกัน Validation of a Color That Prints Down on the Inventory Prints
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม | Faculty of Engineering, Siam University, Bangkok, Thailand
Related:
- วิธีการฟื้นฟูสภาพเครื่องเข้าชุดแบบฟอร์มต่อเนื่อง
- การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกัน
- การแก้ไขปรับปรุง เครื่องตัดต่อกระดาษอัตโนมัติ ยี่ห้อ Megtec รุ่น D500
- การออกแบบและพัฒนาเครื่องพิมพ์กล่องลูกฟูกด้วยการพิมพ์ระบบอิงค์เจ็ท
- การพัฒนาเครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ตามโครงการสหกิจศึกษาของนักศึกษา สถาบันวิศวกรรมการพิมพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
- ออกแบบและสร้างเครื่องรีดกาวซองจดหมาย