Tags: ฐานข้อมูล TCI 2
การประเมินสมรรถนะทางกายภาพของตัวชี้วัดทางเคมีในกระบวนการทําให้ปราศจากเชื้อภายใต้การทํางานของระบบปั๊มสุญญากาศของเครื่องทําให้ปราศจากเชื้อด้วยแรงดันไอน้ำ

ดร.วิทยา ชาญชัย – Dr. Withaya Chanchai. 2567 (2024). Evaluation of the Physical Performance of Chemical Indicators in the Sterilization Process under the Operation of the Pre-Vacuum Pump System of the Steam Sterilizer. บทความ (Paper). วิทยาศาสตร์สุขภาพ|Health Science. แพทยศาสตร์ ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ (Medicine, Department of Public Health Science). วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย – Bachelor of Science

การแนะนำสินค้าด้วยวิธีการอิงเนื้อหาและการกรองข้อมูลแบบพึ่งพาผู้ใช้ร่วม

ผศ. ดร.พิชญากร เลค – Asst. Prof. Dr. Pitchayakorn Lake, TCI2 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, Engineering Journal of Siam University Vol. 24 No. 47 (2023): ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ลำดับที่ 47 ช่วง กรกฎาคม-ธันวาคม 2566

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

อาจารย์ขวัญเรือน ก๋าวิตู – Miss Kwanruen Kawitu, อาจารย์ชัยสิทธิ์ ทันศึก และอาจารย์ณรงค์ สุกใส คณะพยาบาลศาสตร์ (Nursing), 2566 (2023), วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ, Factors Influencing to Preventive Behaviors for Coronavirus Disease 2019 of Thai and Migrant Workers in Bang Sao Thong District, Samutprakarn Province.

ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, รัตนาภรณ์ นิวาศานนท์, กาญจนา งามจันทราทิพย์ และศิริพร สามสี. (2565). ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 73-88.

ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, อรทิพา ส่องศิริ, ธัญลักษณ์วดี ก้อนทองถม และธัญญลักษณ์ ดีชาติธนากุล. (2566). ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 24(46), 69-82.

พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม

วิภานันท์ ม่วงสกุล, ระชี ดิษฐจร, บัวทิพย์ เพ็งศรี และนิตยา วิโรจนะ. (2565). พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 99-111.

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, ชวิน อุ่นภัทร, ปรุฬห์ รุจนธํารงค์, ชลธิชา สลักศิลป์, ศุภาพิชญ์ ศิริมงคล, กนกวรรณ แย้มหงษ์ และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 8(3), 495-507.

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

พิชาภรณ์ จันทนกุล, สมฤดี ชื่นกิติญานนท์, สุกฤตา ตะการีย์ และ ศิริพร สามสี. (2565). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 62-76.

อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน

รัชพร ศรีเดช และ ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์. (2564). อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 127-136.

การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์ และ รัชพร ศรีเดช. (2564). การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(42), 107-114.

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ

ภาคภูมิ มงคลสังข์, ไตรทศ ขําสุวรรณ, จิรวิท พึ่งน้อย และสมภพ พึ่งเสมา. (2564). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งรัตนโกสินทร์, 3(2), 45-55.

การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020

บุศยา กุลบุศย์ และ วีรชัย ไชยจามร. (2564). การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020. วารสารอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, , 7(3), 1-11.

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ

ดวงกมล วิรุฬห์อุดมผล และ พรพิมล ภูมิฤทธิกุล. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(4), 87-99.

ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด

อ้าพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ยุพารัตน์ จาบถนอม และ อรุณ อินทรักษ์. (2019). ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 133-136.

การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก

ปิยนุสร์ น้อยด้วง, จิรนาถ บุญคง และภัทรธร งามวัฒนกุล. (2562). การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 77-80.

การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ

จิรนาถ บุญคง, ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ชลธิชา สุขยืนยงศ์ และซูมัยยะห์ บูระกะ. (2019). การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ. Agricultural Science Journal, 50(2), 185-188.

การพัฒนาผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนยแข็งชนิดอ่อน เสริมด้วยผงโปรตีนมะพร้าวเข้มข้น

สมฤดี ไทพาณิชย์. (2020). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนยแข็งชนิดอ่อน เสริมด้วยผงโปรตีนมะพร้าวเข้มข้น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28(12), 2173-2184.

ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปากในผู้ป่วยที่รับยาต้านการเกิดลิ่มเลือดชนิดรับประทาน

ปรีชา เจษฎาชัย, สุภาพร วิริยะจิรกุล, วราวุธ อัมพรวิโรจน์กิจ และอุษาศิริ ศรีสกุล. (2563). ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปากในผู้ป่วยที่รับยาต้านการเกิดลิ่มเลือดชนิดรับประทาน. ว.ทันต.มศว., 13(2), 22-37.