ขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้ง

Last modified: June 25, 2022
Estimated reading time: 1 min
ชื่อโครงงาน:
Project Title:
ขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้ง
Stone Age Cereal
ชื่อนักศึกษา:
Author:
นางสาว ภัทรกมล จันทร์โคตร, นางสาว นาขวัญ ดิษฐผล, นางสาว นริศรา ธรรมมงคล
Ms. Pattarakamol  Chankhot, Ms. Nakraun  Dittapol, Ms. Naritsara  Thammongkol
อาจารย์ที่ปรึกษา:
Advisor:
ดร.นันทิรา ภูขาว สนใจ
Dr.Nantira Pookhao  Sonjai
ระดับการศึกษา:
Degree:
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
Bachelor of Arts (Liberal Arts)
ภาควิชา:
Major:
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
Tourism and Hospitality Industry
คณะ:
Faculty:
ศิลปศาสตร์
Liberal Arts
ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา:
Semester / Academic year:
2/2561
2/2018

การอ้างอิง/citation

ภัทรกมล จันทร์โคตร, นาขวัญ ดิษฐผล และนริศรา ธรรมมงคล. (2561). ขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้ง. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.

Chankhot N., Dittapol N., & Thammongkol N. (2018). Stone age cereal. (Cooperative Education). Bangkok: Faculty of Liberal Arts, Siam University.


บทคัดย่อ

จากการที่ได้ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในแผนกครัวของโรงแรมโนโวเทล กรุกรุงเทพ ฟินิกส์ สีลม ผู้จัดทำได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาวัตถุดิบต่างๆของครัวเบเกอรี่และครัวเย็น 2. เพื่อเพิ่มรายการอาหารสุขภาพให้กับทางโรงแรม จากการที่คณะผู้จัดทำได้สอบถามพนักงานที่ปรึกษา และได้หาข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของธัญพืช และส่วนผสมต่างต่างๆ จึงได้ทดลองสูตรหลาย ผลการทดลองครั้งแรก คือ ขนมปังสุกไม่ทั่วกันและมีรสชาติเค็มเกินไป ผลการทดลองทำครั้งแรกพบว่าพนักงานครัวมีความพึงพอใจ ร้อยละ 66.67 ไม่พึงพอใจร้อยละ 33.33 จึงได้ทำการปรับสูตร และได้ทำการทดลองใหม่อีกครั้ง โดยเพิ่มเวลาในการอบมากขึ้นและลดปริมาณเกลือเพื่อให้ขนมปังมีรสชาติที่ดี ในที่สุดคณะผู้จัดทำได้ค้นพบสูตรที่ลงตัวที่ ผลการสัมภาษณ์การทดลองรอบที่สองพบว่าผู้ตอบ ชื่นชอบในความคิดสร้างสรรค์ที่คณะผู้จัดทำได้นำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในโรงแรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์และทำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม มีความพึงพอใจในรสชาติและหน้าตาของขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้งและ กล่าวว่าเมนูนี้สามารถทำประโยชน์ให้กับทางโรงแรมได้

คำสำคัญ: ธัญพืช, อาหารสุขภาพ, อาหารไร้แป้ง


Abstract

As part of the Cooperative Education Program, the researchers worked as staff in the kitchen of Novotel Bangkok Fenix Silom Hotel and had explored information about healthy food for creating a new menu named ‘Stone Age Cereal’. Therefore, this project aimed to 1) study the ingredients used in bakery and cold kitchens; 2) create a healthy menu for the hotel. From interviewing staff and searching information about healthy ingredients, the researchers had conducted and tested various recipes. The result of the first trial was that the bread was unevenly baked and came out too salty while the level of satisfactions towards first trial were as follow; 66.67 per cent of the respondents satisfied with the project; 33.33 per cent of the respondents dissatisfied with the project. Thus, the researchers had increase the baking time and reduced salt for the second trial. Finally, the researcher could find an appropriate recipe for Stone Age Cereal. The level of satisfaction of the second trial showed that the respondents were impressed with the creativity in using available ingredients for increasing the value and they also satisfied with the taste and appearance. The respondents believed that this project could be beneficial for the hotel.

Keywords:  Cereal, Healthy food, flourless food.


ขนมปังเพื่อสุขภาพแบบไร้แป้ง / Stone Age Cereal

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม  Faculty of Liberal Arts, Siam University, Bangkok, Thailand

Related by advisor:

Tags:
Was this article helpful? บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?
ไม่ / Dislike 0
Views: 5371
Facebook
Twitter
LinkedIn
WhatsApp
Email
Print