การคำนวณภาระการทำความเย็นสำหรับห้องบดและผสมอาหารสัตว์ โครงการ พีซีจี เว็ท แพลน
การคำนวณภาระการทำความเย็นสำหรับห้องบดและผสมอาหารสัตว์ โครงการ พีซีจี เว็ท แพลน|Cooling Load Calculation for Crush and Mixing Room PCG WET PLANT PROJECT
การคำนวณภาระการทำความเย็นสำหรับห้องบดและผสมอาหารสัตว์ โครงการ พีซีจี เว็ท แพลน|Cooling Load Calculation for Crush and Mixing Room PCG WET PLANT PROJECT
พิทักษ์พงษ์ บุญประสม, วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ และ ตะวัน ภูรัต. (2565). การพัฒนาเครื่องจักรรีดยางเครปจากยางก้อนถ้วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางเครปบางตามมาตรฐาน GMP สำหรับอุตสาหกรรมการผลิตยางเครปในประเทศไทย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
อนันต์ เขมพาณิชย์กุล และพิทักษ์พงษ์ บุญประสม. (2565). การออกแบบและสร้างเครื่องมือวัดรองหนุนชนิดนาฬิกาเปรียบเทียบศูนย์เดี่ยว สำหรับใช้กับเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดป้อนแผ่น (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
Pathomchaiwal A. (2021). Pill classification based on machine learning. In The 6th Asian Color Association (ACA) Conference 2021 “Color & Culture” 02-03 November 2021, Yogyakarta Indonesia (pp. 344-347). Indonesia: Department of Agro-Industrial Technology Universitas Gadjah Mada.
รัตนา แวดสูงเนิน. (2561). ออกแบบและสร้างเครื่องกระทุ้งกระดาษสำหรับเครื่องเข้าชุด. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
จิราพร คงขวัญเมือง. (2561). การสร้างต้นแบบภาคตัดขวางเสาเข็มโดยการพิมพ์ 3 มิติจากโปรแกรมพาราเมตริกโซลิดโมเดล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทดสอบขนาดหน้าตัดเสาเข็ม. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
ไซมอนด์ หว่อง. (2561). การศึกษาและพัฒนาโครงสร้างกล่องบรรจุภัณฑ์จากไม้โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยโครงสร้าง Solid Model. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
พีรดนย์ จันทร์ทอง และ อาคเนย์ ริ้วงาม. (2559). การฟื้นฟูเครื่องนับและคั่นกระดาษสำหรับเครื่องพิมพ์ระบบป้อนแผ่น. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
ธีรพัฒน์ ศิริประภา. (2561). คู่มือผสมสีพิเศษสำหรับหมึกพิมพ์ออฟเซต. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
กฤตย์ มิดดี้, ปัณณวัฒน์ อักษรศิริวิทยา และ ชลากร อรุณรัศมี. (2560). ออกแบบและสร้างเครื่องรีดกาวซองจดหมาย. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
โครงการสหกิจศึกษานี้นำเสนอโครงงานการออกแบบและประดิษฐ์เครื่องตัดเพลท โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องมือสำหรับตัดแม่พิมพ์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ระบบออฟเซต
ธะนะวัฒน์ สีทา, พัชราวรรณ พีชาตะนันท์, กานต์ ว่องวิกย์การ, กรรณ์จิรา สงสายออ และ ธีรทัศน์ ฐิติรัฐพงศ์. (2560). วิธีการฟื้นฟูสภาพเครื่องเข้าชุดแบบฟอร์มต่อเนื่อง. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
โครงการสหกิจศึกษานี้การตรวจสอบค่าของสีที่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์ที่ต่างชนิดกันสำหรับใช้เป็นแนวทางในการปรับสี เครื่องพิมพ์ รุ่น GTO 52 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาในการปรับตั้งสีหน้าแท่นพิมพ์และลดปัญหาเรื่องกระดาษยืด
ศราวุธ สีทาบุญ และ เกล้า วัฒนวิกย์กรรม์. (2560). การแก้ไขปรับปรุง เครื่องตัดต่อกระดาษอัตโนมัติ ยี่ห้อ Megtec รุ่น D500. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
สิทธิชัย ทางสวาย, อานนท์ สุวรรณศร และ ปรัชญา ไชยพิมพ์. (2560). การออกแบบและพัฒนาเครื่องพิมพ์กล่องลูกฟูกด้วยการพิมพ์ระบบอิงค์เจ็ท. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
พิทักษ์พงษ์ บุญประสม, สามารถ ใจซื่อ และ สราวุฎฐ์ วรสุมันต์. (2562). การพัฒนาเครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ตามโครงการสหกิจศึกษาของนักศึกษา สถาบันวิศวกรรมการพิมพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. ใน รายงานการประชุม การประชุม International and National Conference on Engineering Education ครั้งที่ 17 (หน้า 110-122). นครปฐม: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.