Tags: TCI
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

อาจารย์ขวัญเรือน ก๋าวิตู – Miss Kwanruen Kawitu, อาจารย์ชัยสิทธิ์ ทันศึก และอาจารย์ณรงค์ สุกใส คณะพยาบาลศาสตร์ (Nursing), 2566 (2023), วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชากรวัยแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ, Factors Influencing to Preventive Behaviors for Coronavirus Disease 2019 of Thai and Migrant Workers in Bang Sao Thong District, Samutprakarn Province.

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

รัฐกานต์ ขำเขียว, ศนิกานต์ ศรีมณี และศิรินา สันทัดงาน. 2566 (2023). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมจัดการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในชุมชนริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร – Factors Predicting the Participatory Health Management in Klong Phasi Charoen Waterfront Community. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing Science. พย.บ. (สาขาพยาบาลศาสตร์) – B.N.S. (Nursing Science). วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2566 – Journal of

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, วิภานันท์ ม่วงสกุล, สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร, มธุรส ทิพยมงคลกุล และภาศิษฏา อ่อนดี. 2566 (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเชื่อ และเจตคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ากับพฤติกรรมการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่มวนของเยาวชนไทย ในภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล – Association between Personal Factors, Beliefs, and Attitudes towards E-cigarettes and Cigarettes Use among Thai Youths in Central Region, Bangkok and its Perimeter. บทความ (Paper). พยาบาลศาสตร์ (Nursing). พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) – Bachelor of Nursing

ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง

ทักษิณ จันทร์สิงห์, ปุณยวีร์ พืชสะกะ และภาสุนัน ดำรงค์คงชัย. (2566). ยาชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์ยับยั้งปัจจัยการแข็งตัวของเลือดโดยตรงสำหรับการรักษาโรคลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำในผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2566) หน้า 409 – 421.

การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล

พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ, วิญญู ชะนะกุล, จันทร์เจ้า มงคลนาวิน, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา, พรยุพา เตียงพัฒนะวงษ์ และอนุสรา เครือนวล. (2566). การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจนนำไปสู่ การใช้ยาฉีด Benztropine ในผู้ป่วยจิตเวชโดยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(2), 523 – 535.

ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, มัทวัน ศรีอินทร์คำ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย. (2566). ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 28(3), 1424-1444.

การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน

ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี, ยุพดี ศิริสินสุข และอนุชัย ธีระเรืองไชยศร. (2566). การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 5(2), 306 – 326.

ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตามหลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร

เสถียร พูลผล, ณัฐธิดา วุฒิโสภากร, พันธ์วิรา ชาติสมพงษ์, ภัครินทร์ พณิชย์อมรกุล. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตาม หลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(3), 741-749.

ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, รัตนาภรณ์ นิวาศานนท์, กาญจนา งามจันทราทิพย์ และศิริพร สามสี. (2565). ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 73-88.

ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, อรทิพา ส่องศิริ, ธัญลักษณ์วดี ก้อนทองถม และธัญญลักษณ์ ดีชาติธนากุล. (2566). ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 24(46), 69-82.

การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2566). การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน. วารสารศิลปการจัดการ, 7(2), 381 – 401.

พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม

วิภานันท์ ม่วงสกุล, ระชี ดิษฐจร, บัวทิพย์ เพ็งศรี และนิตยา วิโรจนะ. (2565). พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 99-111.

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, ชวิน อุ่นภัทร, ปรุฬห์ รุจนธํารงค์, ชลธิชา สลักศิลป์, ศุภาพิชญ์ ศิริมงคล, กนกวรรณ แย้มหงษ์ และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 8(3), 495-507.

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

พิชาภรณ์ จันทนกุล, สมฤดี ชื่นกิติญานนท์, สุกฤตา ตะการีย์ และ ศิริพร สามสี. (2565). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 62-76.

อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน

รัชพร ศรีเดช และ ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์. (2564). อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 127-136.

การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์ และ รัชพร ศรีเดช. (2564). การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(42), 107-114.

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

ขวัญเรือน กําวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 7(2), 196-211.

การปรับขนาดยารักษาโรคติดเชื้อ coronavirus disease 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่องและได้รับการบำบัดทดแทนไต

ธนิยา เจริญเสรีรัตน์ และ วีรชัย ไชยจามร. (2564). การปรับขนาดยารักษาโรคติดเชื้อ coronavirus disease 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่องและได้รับการบำบัดทดแทนไต. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 31(3), 278-291.

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

นฤมล อังศิริศักดิ์. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ

ภาคภูมิ มงคลสังข์, ไตรทศ ขําสุวรรณ, จิรวิท พึ่งน้อย และสมภพ พึ่งเสมา. (2564). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งรัตนโกสินทร์, 3(2), 45-55.