Tags: บทความวิชาการ
ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, มัทวัน ศรีอินทร์คำ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย. (2566). ศึกษาวิธีการสกัดและสมบัติทางเคมีกายภาพของโปรตีนพืชในการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เลียนแบบเนื้อสัตว์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 28(3), 1424-1444.

การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน

ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี, ยุพดี ศิริสินสุข และอนุชัย ธีระเรืองไชยศร. (2566). การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเสริมสร้างความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและความตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลของประชาชน. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 5(2), 306 – 326.

ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตามหลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร

เสถียร พูลผล, ณัฐธิดา วุฒิโสภากร, พันธ์วิรา ชาติสมพงษ์, ภัครินทร์ พณิชย์อมรกุล. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตาม หลักบันไดขั้นที่ 2 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเภสัชกรรมไทย, 15(3), 741-749.

ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, รัตนาภรณ์ นิวาศานนท์, กาญจนา งามจันทราทิพย์ และศิริพร สามสี. (2565). ผลลัพธ์การจัดการเรียนภาคปฏิบัติออนไลน์ในนักศึกษาพยาบาลช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษารายวิชาปฏิบัติการพยาบาลรวบยอดสาขาผดุงครรภ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 73-88.

ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม

สุกฤตา ตะการีย์, พิชาภรณ์ จันทนกุล, อรทิพา ส่องศิริ, ธัญลักษณ์วดี ก้อนทองถม และธัญญลักษณ์ ดีชาติธนากุล. (2566). ผลการใช้นวัตกรรมนุ่มนิ่มอโรมาคลายเครียดสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 24(46), 69-82.

การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2566). การสำรวจความคิดเห็นของเภสัชกรโรงพยาบาลต่อปัญหายาเหลือใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน. วารสารศิลปการจัดการ, 7(2), 381 – 401.

พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม

วิภานันท์ ม่วงสกุล, ระชี ดิษฐจร, บัวทิพย์ เพ็งศรี และนิตยา วิโรจนะ. (2565). พหุลักษณ์ทางการแพทย์เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 อย่างเป็นองค์รวม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 23(45), 99-111.

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, ชวิน อุ่นภัทร, ปรุฬห์ รุจนธํารงค์, ชลธิชา สลักศิลป์, ศุภาพิชญ์ ศิริมงคล, กนกวรรณ แย้มหงษ์ และชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 8(3), 495-507.

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

พิชาภรณ์ จันทนกุล, สมฤดี ชื่นกิติญานนท์, สุกฤตา ตะการีย์ และ ศิริพร สามสี. (2565). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยรุ่นที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 62-76.

สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา

กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, อรปรียา ศักดาพิสุทธิ์, นิชกานต์ ศิลประเสริฐ, ปทุมพร เทพกัน, เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล และ ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี. (2565). สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา, 2(2), 10-23.

อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน

รัชพร ศรีเดช และ ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์. (2564). อุบัติเหตุบนท้องถนน: การสร้างแรงจูงใจเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในวัยรุ่นและเยาวชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 22(43), 127-136.

การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์ และ รัชพร ศรีเดช. (2564). การเสริมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือประชาคมอาเซียนในการจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อสังคมสูงวัยอย่างมีศักยภาพและนวัตกรรม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(42), 107-114.

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

ขวัญเรือน กําวิตู, ชัยสิทธิ์ ทันศึก, ระชี ดิษฐจร และ ชนิดา มัททวางกูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 7(2), 196-211.

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

นฤมล อังศิริศักดิ์. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ

ภาคภูมิ มงคลสังข์, ไตรทศ ขําสุวรรณ, จิรวิท พึ่งน้อย และสมภพ พึ่งเสมา. (2564). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างเพื่อปรับปรุงท่าเทียบเรือ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งรัตนโกสินทร์, 3(2), 45-55.

การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020

บุศยา กุลบุศย์ และ วีรชัย ไชยจามร. (2564). การใช้ยาลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการจัดการเบาหวานในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง; อ้างอิงตาม Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) 2020. วารสารอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, , 7(3), 1-11.

สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น

สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร. (2564). สภาวะอารมณ์ไม่คงที่: ความท้าทายในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 35(2), 171-187.

เทคนิคทางเลือกสำหรับศึกษาลักษณะฟิล์มและเมมเบรน

ศศิประภา ชิตรัตถา และ ธวัชชัย แพชมัด. (2564). เทคนิคทางเลือกสำหรับศึกษาลักษณะฟิล์มและเมมเบรน. วารสารเภสัชกรกรอุตสาหการ, 9(2), 1-10.

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ

ดวงกมล วิรุฬห์อุดมผล และ พรพิมล ภูมิฤทธิกุล. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและการรู้คิดในผู้สูงอายุที่อาศัยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(4), 87-99.

ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด

อ้าพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ยุพารัตน์ จาบถนอม และ อรุณ อินทรักษ์. (2019). ศึกษาปริมาณหัวเชื้อ และน้้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตโยเกิร์ตจากถั่ว 5 ชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 133-136.

การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก

ปิยนุสร์ น้อยด้วง, จิรนาถ บุญคง และภัทรธร งามวัฒนกุล. (2562). การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 50(2)(พิเศษ), 77-80.

การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ

จิรนาถ บุญคง, ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ชลธิชา สุขยืนยงศ์ และซูมัยยะห์ บูระกะ. (2019). การใช้รีซิสแตนส์สตาร์ชจากสตาร์ชข้าวเจ้าดัดแปรด้วยความร้อนชื้นในผลิตภัณฑ์ทองพับ. Agricultural Science Journal, 50(2), 185-188.

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้ง และวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

อนุสรา เครือนวล, ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา, พลภัทร์ โล่เสถียรกิจ, สุทธา สุปัญญา, พรทิพย์ ธีรรัตน์ไชยเลิศ และ พินทุสร กลับคุณ. (2564). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการให้ยารักษาโรคจิตวันละครั้งและวันละหลายครั้งในผู้ป่วยโรคจิตเภท: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 29(2), 177-88.

QR Code

More Topics